ประวัติสโมสรบอลพัทยายูไนเต็ด

ประวัติสโมสรบอลพัทยายูไนเต็ด

ยุคแรก (สโมสรสุขาภิบาลตำบลบางพระ)

ก่อตั้งโดยนายพันธ์ศักดิ์ เกตุวัตถา อดีตนักฟุตบอลซึ่งเป็นประธานกรรมการสุขาภิบาลตำบลบางพระในขณะนั้น ได้ส่งทีมฟุตบอลเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน ประเภท ง. ในนามทีมสโมสรสุขาภิบาลตำบลบางพระในปี พ.ศ. 2530 และได้แข่งขันจนสามารถเลื่อนขึ้นมาเล่นในระดับ ประเภท ค. และประเภท ข. ตามลำดับ และในปี พ.ศ. 2542 รัฐบาลมีนโยบายยกฐานะสุขาภิบาลทั่วประเทศให้เป็นเทศบาล ทีมสุขาภิบาลตำบลบางพระ จึงเปลี่ยนชื่อทีมเป็นทีมสโมสรฟุตบอลเทศบาลตำบลบางพระตามการยกระดับขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนับตั้งแต่นั้นมา

ปี พ.ศ. 2544 สโมสรฟุตบอลเทศบาลตำบลบางพระ คว้าแชมป์ถ้วยพระราชทาน ประเภท ข. ได้สำเร็จ พร้อมกับได้ก้าวขึ้นมาเล่นในลีกดิวิชั่น 1 ของเมืองไทย ซึ่งกลายเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาทีมอย่างจริงจัง โดยมี นายวิทยา คุณปลื้ม อดีต ส.ส. ชลบุรี และนายสนธยา คุณปลื้ม อดีต รมต.กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เข้ามาให้การสนับสนุนทีม โดยสโมสรได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่ในช่วงที่พันธุ์ศักดิ์ เกตุวัตถาได้รับเลือกตั้งให้เป็นนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลบางพระ เพราะนอกจากจะสามารถจัดสรรงบประมาณในการพัฒนากีฬาได้แล้ว นักฟุตบอลของทีมยังมีความมั่นคงด้านการสร้างฐานะ เนื่องจากนักฟุตบอลบางส่วนจะได้รับการบรรจุให้เป็นเจ้าหน้าที่ของเทศบาลจึงเป็นเครื่องการันตีได้ว่าเมื่อเลิกเล่นฟุตบอลแล้วยังมีงานราชการรองรับ ต่อมาเครื่องดื่มโค้กได้เข้ามาเป็นผู้สนับสนุนหลักจึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็น สโมสรฟุตบอลโค้ก-เทศบาลตำบลบางพระ เพื่อลงเล่นในดิวิชั่น 1 และประสบความสำเร็จเมื่อฤดูกาล 2550 ทีมจบฤดูกาลด้วยตำแหน่งรองแชมป์ของสาย A และได้อันดับ3ในรอบสุดท้าย จึงได้เลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นในไทยแลนด์พรีเมียร์ลีกในฤดูกาลต่อมา

ฤดูกาล 2551 สโมสรฟุตบอลโค้ก-เทศบาลตำบลบางพระ ได้เล่นในลีกสูงสุดเป็นฤดูกาลแรก และจบฤดูกาลด้วยอันดับ11อย่างเหนือความคาดหมาย

พัทยา ยูไนเต็ด

ฤดูกาล 2552 สโมสรได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น สโมสรพัทยา ยูไนเต็ด และจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามข้อกำหนดของเอเอฟซี พร้อมทั้งเปลี่ยนสนามเหย้าของทีมจากสนามโค้ก-จำลอง เสมอวงษ์ เป็นสนามเทศบาลหนองปรือ แต่กลับมีผลงานในลีกช่วงครึ่งฤดูกาลแรกไม่ค่อยดีนัก โดยลงแข่ง14 นัด ชนะเพียง2นัด และแพ้ไป6นัด เก็บได้เพียง12 คะแนน พันธ์ศักดิ์ เกตุวัตถาผู้จัดการทีมที่ควบตำแหน่งกุนซือมาหลายปีจึงประกาศลาออกจากการเป็นผู้ฝึกสอนและทำหน้าที่ผู้จัดการอย่างเดียว และได้วิสูตร วิชายาอดีตกุนซือทีมธนาคารกรุงเทพมาเป็นผู้ฝึกสอนคนใหม่ แต่คุมทีมได้เพียง1นัด โดยเป็นการออกไปเสมอกับทีมจุฬาฯ ยูไนเต็ด 1-1 โดยต่อมาสโมสรได้ทำการแต่งตั้งจเด็จ มีลาภ อดีตกุนซือผู้พาทีมชลบุรี เอฟซีคว้าแชมป์ลีกในฤดูกาล 2550 มาทำหน้าที่แทน

โลโก้

  • โลโก้เมื่อครั้งยังเป็นสโมสรโค้ก-เทศบาลตำบลบางพระ

ผู้ฝึกสอน

รายชื่อผู้ฝึกสอน (2544 – ปัจจุบัน)

ชื่อ สัญชาติ ระยะเวลา ความสำเร็จ
พันธุ์ศักดิ์ เกตุวัตถา ธงชาติของไทย 2544 – 14 มิถุนายน 2552 ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ประเภท ข. :แชมป์
วิสูตร วิชายา ธงชาติของไทย 15 – 25 มิถุนายน 2552 (1 นัด)  
จเด็จ มีลาภ ธงชาติของไทย 26 มิถุนายน 2552 – ธันวาคม 2552  
ธวัชชัย ดำรงค์อ่องตระกูล ธงชาติของไทย ธันวาคม 2552- ตุลาคม 2553  
จตุพร ประมลบาล ธงชาติของไทย ธันวาคม 2553  

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

NO.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
1 ธงชาติของไทย GK ประสิทธิ์ โคตรมหา
2 ธงชาติของโกตดิวัวร์ DF คิกเนลแมน อธานาเซ
4 ธงชาติของไทย DF สมภพ นิลวงศ์
5 ธงชาติของไทย DF นิเวส ศิริวงศ์ 
7 ธงชาติของไทย MF อิทธิพล พูลทรัพย์ (รองกัปตันทีม)
8 ธงชาติของไทย MF ธีระเวคิน สีหวงศ์
9 ธงชาติของรัสเซีย MF โรดีออน ยาเชนโก
11 ธงชาติของไทย MF รังสฤทธิ์ สุทธิสา
13 ธงชาติของไทย FW เปรมวุฒิ วงศ์ดี
14 ธงชาติของไทย FW ปฏิพณ เพชรวิเศษ
15 ธงชาติของไทย MF ซีเกต หมาดปูเต๊ะ
16 ธงชาติของไทย MF นิรันดร์ฤทธิ์ เจริญสุข
17 ธงชาติของญี่ปุ่น DF เคซูเกะ โอกาวะ
19 ธงชาติของไทย MF อนุวัฒน์ อินยิน
20 ธงชาติของเกาหลีใต้ MF คิม โดยอน
 
NO.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
21 ธงชาติของไทย DF ธีรยุทธ ดวงพิมาย
22 ธงชาติของไทย DF ปรัชญา หงษ์อินทร์
23 ธงชาติของไทย MF วสันต์ ชะรัมย์
25 ธงชาติของไทย FW ภูดิท เนียมคง
27 ธงชาติของสโลวาเกีย DF มาเรียน จูฮาส
28 ธงชาติของไทย DF อดิศักดิ์ หาญเทศ
29 ธงชาติของไทย DF อภินันต์ สวนทอง
30 ธงชาติของไทย GK วิชาญ ปรีดาบุญ
31 ธงชาติของไทย DF ปริญญา แสนคำหมื่น
33 ธงชาติของไทย MF กฤษณะ ต่ายวัลย์
34 ธงชาติของไทย DF อภิสิทธิ์ คำวัง
40 ธงชาติของแคเมอรูน FW ลูโดวิค ทาคาม

ผลงาน

  • ถ้วยพระราชทาน ประเภท ข. ปี 2544 :แชมป์
  • ดิวิชั่น 1 ฤดูกาล 2550 :อันดับ 3 (รองแชมป์ สาย เอ)

ผลงานในไทยพรีเมียร์ลีก

อ้างอิง

 

ประวัติสโมสรบอลพัทยายูไนเต็ด

ประวัติสโมสรบอลพัทยายูไนเต็ด

ยุคแรก (สโมสรสุขาภิบาลตำบลบางพระ)

ก่อตั้งโดยนายพันธ์ศักดิ์ เกตุวัตถา อดีตนักฟุตบอลซึ่งเป็นประธานกรรมการสุขาภิบาลตำบลบางพระในขณะนั้น ได้ส่งทีมฟุตบอลเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน ประเภท ง. ในนามทีมสโมสรสุขาภิบาลตำบลบางพระในปี พ.ศ. 2530 และได้แข่งขันจนสามารถเลื่อนขึ้นมาเล่นในระดับ ประเภท ค. และประเภท ข. ตามลำดับ และในปี พ.ศ. 2542 รัฐบาลมีนโยบายยกฐานะสุขาภิบาลทั่วประเทศให้เป็นเทศบาล ทีมสุขาภิบาลตำบลบางพระ จึงเปลี่ยนชื่อทีมเป็นทีมสโมสรฟุตบอลเทศบาลตำบลบางพระตามการยกระดับขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนับตั้งแต่นั้นมา

ปี พ.ศ. 2544 สโมสรฟุตบอลเทศบาลตำบลบางพระ คว้าแชมป์ถ้วยพระราชทาน ประเภท ข. ได้สำเร็จ พร้อมกับได้ก้าวขึ้นมาเล่นในลีกดิวิชั่น 1 ของเมืองไทย ซึ่งกลายเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาทีมอย่างจริงจัง โดยมี นายวิทยา คุณปลื้ม อดีต ส.ส. ชลบุรี และนายสนธยา คุณปลื้ม อดีต รมต.กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เข้ามาให้การสนับสนุนทีม โดยสโมสรได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่ในช่วงที่พันธุ์ศักดิ์ เกตุวัตถาได้รับเลือกตั้งให้เป็นนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลบางพระ เพราะนอกจากจะสามารถจัดสรรงบประมาณในการพัฒนากีฬาได้แล้ว นักฟุตบอลของทีมยังมีความมั่นคงด้านการสร้างฐานะ เนื่องจากนักฟุตบอลบางส่วนจะได้รับการบรรจุให้เป็นเจ้าหน้าที่ของเทศบาลจึงเป็นเครื่องการันตีได้ว่าเมื่อเลิกเล่นฟุตบอลแล้วยังมีงานราชการรองรับ ต่อมาเครื่องดื่มโค้กได้เข้ามาเป็นผู้สนับสนุนหลักจึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็น สโมสรฟุตบอลโค้ก-เทศบาลตำบลบางพระ เพื่อลงเล่นในดิวิชั่น 1 และประสบความสำเร็จเมื่อฤดูกาล 2550 ทีมจบฤดูกาลด้วยตำแหน่งรองแชมป์ของสาย A และได้อันดับ3ในรอบสุดท้าย จึงได้เลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นในไทยแลนด์พรีเมียร์ลีกในฤดูกาลต่อมา

ฤดูกาล 2551 สโมสรฟุตบอลโค้ก-เทศบาลตำบลบางพระ ได้เล่นในลีกสูงสุดเป็นฤดูกาลแรก และจบฤดูกาลด้วยอันดับ11อย่างเหนือความคาดหมาย

พัทยา ยูไนเต็ด

ฤดูกาล 2552 สโมสรได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น สโมสรพัทยา ยูไนเต็ด และจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามข้อกำหนดของเอเอฟซี พร้อมทั้งเปลี่ยนสนามเหย้าของทีมจากสนามโค้ก-จำลอง เสมอวงษ์ เป็นสนามเทศบาลหนองปรือ แต่กลับมีผลงานในลีกช่วงครึ่งฤดูกาลแรกไม่ค่อยดีนัก โดยลงแข่ง14 นัด ชนะเพียง2นัด และแพ้ไป6นัด เก็บได้เพียง12 คะแนน พันธ์ศักดิ์ เกตุวัตถาผู้จัดการทีมที่ควบตำแหน่งกุนซือมาหลายปีจึงประกาศลาออกจากการเป็นผู้ฝึกสอนและทำหน้าที่ผู้จัดการอย่างเดียว และได้วิสูตร วิชายาอดีตกุนซือทีมธนาคารกรุงเทพมาเป็นผู้ฝึกสอนคนใหม่ แต่คุมทีมได้เพียง1นัด โดยเป็นการออกไปเสมอกับทีมจุฬาฯ ยูไนเต็ด 1-1 โดยต่อมาสโมสรได้ทำการแต่งตั้งจเด็จ มีลาภ อดีตกุนซือผู้พาทีมชลบุรี เอฟซีคว้าแชมป์ลีกในฤดูกาล 2550 มาทำหน้าที่แทน

โลโก้

  • โลโก้เมื่อครั้งยังเป็นสโมสรโค้ก-เทศบาลตำบลบางพระ

ผู้ฝึกสอน

รายชื่อผู้ฝึกสอน (2544 – ปัจจุบัน)

ชื่อ สัญชาติ ระยะเวลา ความสำเร็จ
พันธุ์ศักดิ์ เกตุวัตถา ธงชาติของไทย 2544 – 14 มิถุนายน 2552 ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ประเภท ข. :แชมป์
วิสูตร วิชายา ธงชาติของไทย 15 – 25 มิถุนายน 2552 (1 นัด)  
จเด็จ มีลาภ ธงชาติของไทย 26 มิถุนายน 2552 – ธันวาคม 2552  
ธวัชชัย ดำรงค์อ่องตระกูล ธงชาติของไทย ธันวาคม 2552- ตุลาคม 2553  
จตุพร ประมลบาล ธงชาติของไทย ธันวาคม 2553  

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

NO.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
1 ธงชาติของไทย GK ประสิทธิ์ โคตรมหา
2 ธงชาติของโกตดิวัวร์ DF คิกเนลแมน อธานาเซ
4 ธงชาติของไทย DF สมภพ นิลวงศ์
5 ธงชาติของไทย DF นิเวส ศิริวงศ์ Captain sports.svg
7 ธงชาติของไทย MF อิทธิพล พูลทรัพย์ (รองกัปตันทีม)
8 ธงชาติของไทย MF ธีระเวคิน สีหวงศ์
9 ธงชาติของรัสเซีย MF โรดีออน ยาเชนโก
11 ธงชาติของไทย MF รังสฤทธิ์ สุทธิสา
13 ธงชาติของไทย FW เปรมวุฒิ วงศ์ดี
14 ธงชาติของไทย FW ปฏิพณ เพชรวิเศษ
15 ธงชาติของไทย MF ซีเกต หมาดปูเต๊ะ
16 ธงชาติของไทย MF นิรันดร์ฤทธิ์ เจริญสุข
17 ธงชาติของญี่ปุ่น DF เคซูเกะ โอกาวะ
19 ธงชาติของไทย MF อนุวัฒน์ อินยิน
20 ธงชาติของเกาหลีใต้ MF คิม โดยอน
 
NO.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
21 ธงชาติของไทย DF ธีรยุทธ ดวงพิมาย
22 ธงชาติของไทย DF ปรัชญา หงษ์อินทร์
23 ธงชาติของไทย MF วสันต์ ชะรัมย์
25 ธงชาติของไทย FW ภูดิท เนียมคง
27 ธงชาติของสโลวาเกีย DF มาเรียน จูฮาส
28 ธงชาติของไทย DF อดิศักดิ์ หาญเทศ
29 ธงชาติของไทย DF อภินันต์ สวนทอง
30 ธงชาติของไทย GK วิชาญ ปรีดาบุญ
31 ธงชาติของไทย DF ปริญญา แสนคำหมื่น
33 ธงชาติของไทย MF กฤษณะ ต่ายวัลย์
34 ธงชาติของไทย DF อภิสิทธิ์ คำวัง
40 ธงชาติของแคเมอรูน FW ลูโดวิค ทาคาม

ผลงาน

  • ถ้วยพระราชทาน ประเภท ข. ปี 2544 :แชมป์
  • ดิวิชั่น 1 ฤดูกาล 2550 :อันดับ 3 (รองแชมป์ สาย เอ)

ผลงานในไทยพรีเมียร์ลีก

อ้างอิง

 

ประวัติศาสตร์สโมสรบอลบีบีซียู

ประวัติศาสตร์สโมสรบอลบีบีซียู

สโมสรในช่วงเริ่มต้น

สโมสรฟุตบอลบีบีซียู ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2519 ภายใต้ชื่อ “ทีมฟุตบอลบางเตย” โดย มนตรี สุวรรณน้อย เด็กหนุ่มวัย 20 ปี ผู้มีความฝันที่จะคว้าแชมป์ฟุตบอลประเทศไทย โดยในช่วงแรกนั้นเป็นเพียงทีมฟุตบอลเล็กๆที่ลงทำการแข่งขันในรายการ “บางกะปิ คัพ” รวมไปถึงรายการระดับสมัครเล่นอื่นๆที่มีการจัดการแข่งขันในย่าน บึงกุ่มบางกะปิ ก่อนที่จะเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลในระดับ ถ้วยพระราชทาน ง เป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2531 และเปลี่ยนชื่อเป็น “สโมสรฟุตบอลบางเตย-สุวรรณน้อย”

บางเตย-สุวรรณน้อย ลงสนามในนัดอย่างเป็นทางการนัดแรกพบกับ ราชนาวีสโมสร (ชุด “ถ้วย ง”) ในการแข่งขันฟุตบอล ถ้วยพระราชทาน ง พ.ศ. 2531 โดยในนัดนั้น เสมอกันไป 1-1 และ มนตรี สุวรรณน้อย ในวัย 32 ปี เป็นผู้ยิงประตูแรกในประวัติศาสตร์สโมสรได้สำเร็จ ก่อนที่ทีมจะทำผลงานได้ดีอย่างต่อเนื่องจนได้สิทธิ์เลื่อนชั้นขึ้นสู่ ถ้วยพระราชทาน ค ในทันทีเมื่อสิ้นสุดฤดูกาลแรก โดยผู้เล่นของทีมที่พอจะเป็นที่รู้จักในเวลานั้นคือ สมบัติ ลีกำเนิดไทย ที่สามารถก้าวขึ้นมาติดทีมชาติไทยชุดเยาวชนเป็นคนแรกของสโมสรได้สำเร็จ

ฤดูกาลต่อมา ใน ถ้วยพระราชทาน ค ทีมก็ยังคงทำผลงานได้ดีอย่างต่อเนื่องและจบฤดูกาลด้วยสิทธ์เลื่อนชั้นขึ้นสู่ ถ้วยพระราชทาน ข นับเป็นการเลื่อนชั้น 2 ปีซ้อน โดยในปีต่อมา ทีมเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น “สโมสรฟุตบอลสินธนา” และใช้เวลาสร้างทีมอยู่ใน “ถ้วย ข” เป็นเวลา 3 ปี ก่อนจะก้าวขึ้นสู่ ถ้วยพระราชทาน ก ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับสูงสุดของประเทศไทยในเวลานั้นได้สำเร็จในปี พ.ศ. 2536

พ.ศ. 2536-2539

ตั้งแต่ สโมสรสินธนา สามารถก้าวขึ้นสู่การแข่งขันระดับสูงสุดได้สำเร็จ ทีมก็พัฒนาต่อเนื่องเรื่อยมาเพื่อเป้าหมายในการคว้าแชมป์ประเทศไทย หนึ่งในกลยุทธ์ที่สำคัญคือการวางรากฐานระบบทีมเยาวชนของทีม (ที่ริเริ่มมาตั้งแต่สมัยยังอยู่ระดับ ถ้วย ข) เนื่องจาก สินธนา ไม่ใช่ทีมขนาดใหญ่ที่มีเงินจำนวนมากในการทุ่มซื้อและจ่ายค่าเหนื่อยให้กับผู้เล่นระดับแนวหน้า ทีมจึงยึดแนวคิดระบบ “อคาเดมี่” เพื่อสร้างนักเตะของตัวเองขึ้นมาจากระดับเยาวชน (ซึ่งนับเป็นสโมสรแรกๆของเมืองไทยที่มีการสร้างระบบอคาเดมี่ของตัวเอง) โดยในช่วงเริ่มแรกนั้น สโมสรใช้วิธีการสร้างเครือข่ายพันธมิตรกับโรงเรียนมัธยมหลายแห่งเพื่อเป็นฐานในการค้นหานักฟุตบอลอายุน้อย และดึงตัวมาร่วมทีมเพื่อให้เล่นร่วมกันตั้งแต่เด็กๆ ก่อนที่ภายหลัง แนวคิดนี้จะก่อให้เกิดความสำเร็จอย่างงดงามกับสโมสร

พ.ศ. 2539 ฟุตบอลไทยเกิดการปฏิรูปครั้งใหญ่ด้วยการจัดตั้ง ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก (จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก) {ไทยพรีเมียร์ลีก ในปัจจุบัน} ขึ้นเพื่อเปลี่ยนการแข่งขันฟุตบอลระดับสูงสุดของประเทศไทยให้เป็นระบบลีกแทนที่ ถ้วยพระราชทาน ก ส่วน “ถ้วย ก” ได้ถูกเปลี่ยนรูปแบบการแข่งขันมาเป็นแบบ “แชมป์ชนแชมป์” คือนำเอาแชมป์ “ไทยลีก” มาแข่งขันชิงดำนัดเดียว กับแชมป์ เอฟเอคัพ ทั้งนี้ก็เพื่อไม่ให้ถ้วยใบเก่าแก่ที่สุดขอประเทศไทยอย่าง ถ้วย ก ต้องด้อยคุณค่าลงไป แต่ถึงอย่างนั้น แชมป์ ถ้วยพระราชทาน ก ก็ไม่ได้ถูกนับว่าเป็นแชมป์ประเทศไทยอย่างเป็นทางการอีกนับตั้งแต่นั้นมา โดย สินธนา ก็ได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขัน ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ด้วย และจบฤดูกาลแรกด้วยอันดับที่ 6

ยุครุ่งเรือง

1 ปีหลังจากการก่อตั้งฟุตบอลลีกของไทย ยุครุ่งเรืองของ สินธนา ก็เริ่มต้นขึ้น เมื่อนักเตะเยาวชนของสโมสรอย่าง เศกสรรค์ ปิตุรัตน์นิเวส ศิริวงศ์กิตติศักดิ์ ระวังป่าธนัญชัย บริบาลวิรัช วังจันทร์ธงชัย อัครพงษ์ศัตรูพ่าย ศรีณรงค์สันติ ไชยเผือกยุทธพงษ์ บุญอำพร และ ภานุพงศ์ ฉิมผูก แข็งแกร่งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นกำลังหลักของทีมร่วมกับนักเตะรุ่นพี่อย่าง สุรชัย จิระศิริโชติประจักษ์ เวียงสงค์พนิพล เกิดแย้ม และกัปตันทีมอย่าง อนัน พันแสน สินธนา จึงสามารถคว้าแชมป์ เอฟเอคัพ ในปี พ.ศ. 2540 เป็นแชมป์แรกในประวัติศาสตร์สโมสรได้สำเร็จ และต่อด้วยการคว้าแชมป์ ถ้วยพระราชทาน ก ตามมาติดๆในปีเดียวกัน อย่างไรก็ตาม สโมสรพลาดโอกาสที่จะคว้าทริปเปิลแชมป์เป็นทีมแรกของประเทศไทยไปอย่างน่าเสียดาย เมื่อพลาดท่าแพ้ให้กับ สโมสรธนาคารกรุงเทพ ในนัดสุดท้ายของ ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก จึงทำให้ถูก สโมสรทหารอากาศ แซงหน้า ได้เพียงแค่รองแชมป์เท่านั้น ทั้งที่เพียงแค่เสมอก็จะคว้าแชมป์ทันที

ในปีต่อมา พ.ศ. 2541 สินธนา ได้สิทธฺ์ลงแข่งขันในฟุตบอลระดับทวีปเอเชียเป็นครั้งแรกในรายการ เอเชียนคัพวินเนอร์คัพ (ปัจจุบันรายการนี้ได้ถูกรวมเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก แล้ว) ในฐานะแชมป์ เอฟเอคัพ ของไทย โดยทีมตกรอบสองจากการพบกับ คะชิมะ แอนต์เลอร์ส ยอดทีมจากญี่ปุ่น ส่วนผลงานในลีก (ซึ่งเปลี่ยนชื่อมาเป็น “พรีเมียร์ลีก” {คาลเท็กซ์พรีเมียร์ลีก}) ก็ยังคงดีอย่างต่อเนื่อง เมื่อทีมสามารถคว้าแชมป์ได้สำเร็จในฤดูกาลที่ต้องขับเขี้ยวกันจนถึงวินาทีสุดท้าย โดย สินธนา ทำแต้มแซงหน้า ทหารอากาศ ขึ้นคว้าแชมป์ จากประตูชัยในช่วงทดเวลาบาดเจ็บนาทีที่ 92 ของ เศกสรรค์ ปิตุรัตน์ ในเกมนัดสุดท้ายของฤดูกาลกับ สโมสรบีอีซี เทโรศาสน หลังจบเกมในวันนั้น มนตรี สุวรรณน้อย ผู้ก่อตั้งทีมซึ่งดำรงตำแหน่งประธานสโมสรในขณะนั้น ได้ให้สัมภาษณ์ด้วยความดีใจว่า ความฝันของเขาที่ต้องการจะเป็นแชมป์ประเทศไทยตั้งแต่ในวันที่ก่อตั้งทีมขึ้นมาได้กลายเป็นความจริงแล้ว นอกจากนั้น ทีมยังสามารถป้องกันแชมป์ ถ้วย ก เอาไว้ได้อีกสมัยในปีเดียวกัน นับเป็นช่วงเวลาที่ สินธนา รุ่งเรืองสุดขีด

หลังจากคว้าแชมป์ประเทศไทยได้แล้ว เป้าหมายต่อไปของ สโมสรสินธนา คือการพิสูจน์ตัวเองในการแข่งขันระดับที่สูงกว่าอย่างทวีปเอเชีย หลังทำได้เพียงตกรอบสอง คัพวินเนอร์คัพ ในปีที่แล้ว ทำให้ในปีต่อมา พ.ศ. 2542 สโมสรมุ่งเน้นเป็นอย่างมากที่จะทำผลงานให้ดีในการแข่งขันฟุตบอลรายการใหญ่ที่สุดของเอเชียอย่าง เอเชียนคลับแชมเปียนชิพ (เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ในปัจจุบัน) ที่ สินธนา ได้สิทธฺ์เข้าร่วมการแข่งขันในฐานะแชมป์ พรีเมียร์ลีก ของไทย โดยทีมสามารถผ่านเข้าไปถึงรอบก่อนรองชนะเลิศในการแข่งขันฟุตบอลถ้วยใหญ่ของเอเชียในปีนั้น

พ.ศ. 2543-2547

พิษจากภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ในประเทศไทยช่วงต้นยุค 40 เริ่มส่งผลกระทบกับ สโมสรสินธนา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 เป็นต้นมา โดยหลังจากการแข่งขันฟุตบอลถ้วยใหญ่ของเอเชียสิ้นสุดลง สโมสรต้องยอมปล่อยผู้เล่นตัวหลักออกจากทีมหลายรายในปีต่อมาเพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของทีม อย่างไรก็ตาม นักเตะเยาวชนชุดใหม่ที่ถูกดันขึ้นมาทดแทนก็ยังมีดีพอที่จะนำทีมเข้าชิงชนะเลิศในฟุตบอลถ้วยเล็กอย่าง ควีนส์คัพ ได้อีก 2 ครั้งในปี พ.ศ. 2543 และ 2545 หลังจากที่ก่อนหน้านี้เคยทำได้ 1 ครั้งในปี พ.ศ. 2539 โดยทั้ง 3 ครั้งนั้น สินธนา พลาดท่าทำได้เพียงแค่ตำแหน่งรองแชมป์ทั้งหมด ส่วนผลงานในลีกในช่วงหลายปีนี้ นับเป็นช่วงที่ทีมขาดความคงเส้นคงวา โดยทำผลงานอยู่ในกลุ่มกลางตารางสลับกับต้องหนีตกชั้นในบางฤดูกาล จนกระทั่งมาถึงฤดูกาล 2546/47 สโมสรสินธนาประสบกับปัญหาทางการเงินอย่างหนักจนทำให้ทีมจบฤดูกาลด้วยอันดับสุดท้ายของตาราง และต้องตกชั้นลงไปเล่นในระดับ ดิวิชัน 1 เป็นครั้งแรกในปีนั้น

ยุค จุฬาฯ-สินธนา, จุฬาฯ ยูไนเต็ด และ บีบีซียู

หลังจากที่ สินธนา ตกชั้นจากลีกสูงสุดในปี พ.ศ. 2547 สโมสรก็ได้ปล่อยผู้เล่นชุดใหญ่ออกจากทีมไปแบบยกชุด และเตรียมที่จะใช้นักฟุตบอลเยาวชนลงแข่งขันในฟุตบอล ดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2547/48 เนื่องจากสโมสรจำเป็นต้องประหยัดค่าใช้จ่ายในการทำทีม แต่ก่อนที่การแข่งขันจะเริ่มขึ้น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ยื่นมือเข้ามาเป็นพันธมิตรกับสโมสร ทีมจึงมีการปรับเปลี่ยนให้ทีมงานของ จุฬาฯ เข้ามาช่วยในการบริหารทีม และเปลี่ยนชื่อทีมเป็น “สโมสรฟุตบอลจุฬาฯ-สินธนา” อย่างไรก็ตาม ทีมต้องพบกับผลการแข่งขันที่ล้มเหลวและตกชั้นลงสู่ ดิวิชัน 2 (ต่อมาได้พัฒนาเป็น ลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 ในปัจจุบัน) เมื่อจบฤดูกาล

ในปีต่อมา พ.ศ. 2549 จุฬาฯ-สินธนา ได้สร้างทีมขึ้นมาใหม่อีกครั้งโดยมีเป้าหมายเพื่อกลับไปเล่นในลีกสูงสุดของเมืองไทยให้ได้ใน 2 ฤดูกาล โดยทีมสามารถคว้าแชมป์ ดิวิชัน 2 ในปีนั้น (ซึ่งเป็นปีแรกที่จัดการแข่งขัน) ได้สำเร็จ พร้อมกับได้สิทธ์เลื่อนชั้นกลับขึ้นมาเล่นใน ดิวิชัน 1 อีกครั้งในปีต่อมา และจากผลงานที่ดีอย่างต่อเนื่องของทีมชุดใหม่ที่มีนักเตะอย่าง กิตติพล ปาภูงาวุฒิชัย ทาทอง และ ปิยะชาติ ถามะพันธ์ เป็นแกนหลัก สโมสรก็สามารถคว้าตำแหน่งรองแชมป์ ดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2550 และได้เลื่อนชั้นกลับขึ้นสู่ลีกสูงสุดได้สำเร็จตามเป้าหมาย

พ.ศ. 2551 สโมสรได้จดทะเบียนเพื่อดำเนินกิจการในรูปแบบบริษัทจำกัด และเปลี่ยนชื่อเป็น “สโมสรฟุตบอลจุฬาฯ ยูไนเต็ด” โดยทีมได้ลงเล่นอยู่ใน ไทยพรีเมียร์ลีก 2 ปี ก็ต้องตกชั้นสู่ ไทยลีกดิวิชัน 1 อีกครั้ง

ในฤดูกาลล่าสุด (2554) ทีมได้มีการเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น “สโมสรฟุตบอลบีบีซียู” และสามารถคว้าอันดับ 3 ฟุตบอล ไทยลีกดิวิชัน 1 พร้อมกับได้สิทธฺ์เลื่อนชั้นกลับขึ้นสู่ ไทยพรีเมียร์ลีก ในฤดูกาลหน้า (2555)

ชื่อทีมและตราสโมสรจากอดีตถึงปัจจุบัน

บางเตย บางเตย-สุวรรณน้อย สินธนา จุฬาฯ-สินธนา จุฬาฯ ยูไนเต็ด บีบีซียู
(ยังไม่มีตราสโมสร)
พ.ศ. 2519-2531
(ยังไม่มีตราสโมสร)
พ.ศ. 2531-2533
SinthanaFC.png
พ.ศ. 2533-2547
Chula-Sinthana FC.jpg
พ.ศ. 2547-2551
Chula-Sinthana FC.jpg
พ.ศ. 2551-2552
150px-Chula United new logo.png
พ.ศ. 2552-2554
BBCUlogo.jpg
พ.ศ. 2554-ปัจจุบัน

หมายเหตุ

  • ตราสโมสรสินธนา เดิมนั้นระบุปีที่ก่อตั้งเอาไว้เป็น ค.ศ. 1987 (พ.ศ. 2530) แต่หลังจากที่มีการสำรวจประวัติการก่อตั้งสโมสรใหม่ พบว่ามีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสโมสรเกิดขึ้นก่อนหน้านั้นถึง 11 ปี คือตั้งแต่ พ.ศ. 2519 โดยปี ค.ศ. 1987 นั้นเป็นเพียงปีที่สโมสรกำลังเตรียมทีมเพื่อส่งเข้าแข่งขัน ถ้วยพระราชทาน ง ฤดูกาลแรกเท่านั้น
  • สโมสรเปลี่ยนชื่อทีมจาก จุฬาฯ-สินธนา เป็น จุฬาฯ ยูไนเต็ด ระหว่างการแข่งขัน ไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2551 แต่เปลี่ยนเพียงแค่ชื่อ ยังคงใช้ตราสโมสรรูปพระเกี้ยวตามเดิมจนจบฤดูกาลจึงเปลี่ยนเป็นแบบใหม่

ทีมงานประจำสโมสร

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

No.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
2 ธงชาติของไทย DF ไมตรี กุหลาบขาว
3 ธงชาติของไทย DF จักรพงษ์ ใหญ่โต
4 ธงชาติของไทย DF ศรัณย์ สมิงชัย
5 ธงชาติของไทย DF นันทพล พิบูลย์พล
6 ธงชาติของไทย MF ปฏิภัทร รอบรู้
7 ธงชาติของไทย MF อนุชา ช่วยศรี
8 ธงชาติของไทย FW พิเชษฐ อินทร์บาง
9 ธงชาติของปากีสถาน FW ฮัซซัน นาวี้ด บาเชอร์
11 ธงชาติของไทย MF สาลาฮูดิน อาแว
12 ธงชาติของไทย MF กิตติศักดิ์ ปิ่นทอง
13 ธงชาติของโกตดิวัวร์ DF โคเบแนน เลออน เอ็นกวตต้า
14 ธงชาติของไทย MF อดิศักดิ์ กานู
15 ธงชาติของกินี MF มุสซ่า ซิลล่า
 
No.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
16 ธงชาติของเกาหลีใต้ MF โช ควาง ฮูน
17 ธงชาติของไทย GK อดิศักดิ์ ดวงศรี
18 ธงชาติของไทย GK พรชัย จันทร์อินทร์
19 ธงชาติของไนจีเรีย FW จาค็อบ แอคิออนบาเร่
20 ธงชาติของไนจีเรีย MF ฮอสเซียน นิสซิม
21 ธงชาติของไทย DF วัฒนศัพท์ เจริญศรี
22 ธงชาติของไทย DF บุณยฤทธิ์ ปฐมทัศน์
23 ธงชาติของไทย DF มงคล วรพรม
25 ธงชาติของไทย DF อดุลย์ หมื่นสมาน Captain sports.svg
26 ธงชาติของไทย DF วิราชโรจน์ จันทร์เต็ง
27 ธงชาติของไทย MF สิทธิศักดิ์ ตาระพัน
28 ธงชาติของไนจีเรีย DF เคนเน็ท อัคปูเซ่
30 ธงชาติของแคเมอรูน GK ฌอง มาร์ค
33 ธงชาติของไทย MF ภานุวัฒน์ ญาณอัมพรพิพัฒน์

ผลงานตามฤดูกาล

[แก้]ยุคสมัครเล่น (พ.ศ. 2519-2530)

นับตั้งแต่มีการก่อตั้ง ทีมฟุตบอลบางเตย (บีบีซียู) ขึ้นในปี พ.ศ. 2519 เพื่อลงแข่งขันรายการ “บางกะปิ คัพ” ทีมใช้เวลากว่าสิบปีลงแข่งขันในรายการระดับสมัครเล่นต่างๆ ก่อนจะส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขันของสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย เป็นฤดูกาลแรกใน ถ้วยพระราชทาน ง ฤดูกาล 2531

[แก้]ยุคฟุตบอลถ้วยพระราชทาน (ฤดูกาล 2531-2538)

ฤดูกาล รายการที่ลงแข่งขัน ระดับ ผลงาน หมายเหตุ
2531 ถ้วยพระราชทาน ง 4 อันดับ 3 (ร่วม) – เลื่อนชั้นขึ้นสู่ ถ้วยพระราชทาน ค ฤดูกาล 2532
2532 ถ้วยพระราชทาน ค 3 รอบก่อนรองชนะเลศ – เลื่อนชั้นขึ้นสู่ ถ้วยพระราชทาน ข ฤดูกาล 2533
2533 ถ้วยพระราชทาน ข 2    
2534    
2535 อันดับ 3 (ร่วม) – เลื่อนชั้นขึ้นสู่ ถ้วยพระราชทาน ก ฤดูกาล 2536
2536 ถ้วยพระราชทาน ก 1 รอบแบ่งกลุ่ม  
2537    
2538 อันดับ 3 (ร่วม) – เป็นฤดูกาลสุดท้ายที่ ถ้วยพระราชทาน ก จัดการแข่งขันในฐานะฟุตบอลระดับสูงสุดของเมืองไทย

ยุคฟุตบอลลีก (ฤดูกาล 2539-ปัจจุบัน)

ฤดูกาล รายการที่ลงแข่งขัน ระดับ ผลงาน หมายเหตุ
2539 (จอห์นนีวอล์กเกอร์)
ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก
1 อันดับ 6 – ประเทศไทยจัดการแข่งขันระบบลีกขึ้นเป็นครั้งแรก
– สโมสรได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ ควีนส์คัพ
2540 รองชนะเลิศ – ชนะเลิศ ถ้วยพระราชทาน ก
– ชนะเลิศ เอฟเอคัพ (ได้สิทธ์ลงแข่งขัน เอเชียนคัพวินเนอร์คัพ ฤดูกาล 1998/99 (ค.ศ.))
2541 (คาลเท็กซ์)
พรีเมียร์ลีก
ชนะเลิศ – ได้สิทธ์ลงแข่งขัน เอเชียนคลับแชมเปียนชิพ ฤดูกาล 1999/2000 (ค.ศ.) [ในฐานะแชมป์ลีก]
– ชนะเลิศ ถ้วยพระราชทาน ก
2542 อันดับ 7  
2543 อันดับ 11 – เพล์ออฟหนีตกชั้นกับ สโมสรกรุงเทพคริสเตียน และชนะด้วยสกอร์รวม 2 นัด 3-2 ประตู
– รองชนะเลิศ ควีนส์คัพ
2544/45 (จีเอสเอ็ม)
ไทยลีก
อันดับ 5  
2545/46 อันดับ 7 – รองชนะเลิศ ควีนส์คัพ
2546/47 ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก อันดับ 10 – ตกชั้นลงสู่ ไทยแลนด์ดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2547/48
2547/48 ไทยแลนด์ดิวิชัน 1 2   – ตกชั้นลงสู่ ไทยแลนด์ดิวิชัน 2 ฤดูกาล 2549
2549 ไทยแลนด์ดิวิชัน 2 3 ชนะเลิศ – เลื่อนชั้นขึ้นสู่ ไทยแลนด์ดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2550
2550 ไทยแลนด์ดิวิชัน 1 2 รองชนะเลิศ – เลื่อนชั้นขึ้นสู่ ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2551
2551 ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก 1 อันดับ 8  
2552 ไทยพรีเมียร์ลีก อันดับ 15 – ตกชั้นลงสู่ ไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2553
2553 ไทยลีกดิวิชัน 1 2 อันดับ 10  
2554 อันดับ 3 – เลื่อนชั้นขึ้นสู่ ไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2555
2555 (สปอนเซอร์)
ไทยพรีเมียร์ลีก
1 ? – กำลังเตรียมลงทำการแข่งขันในฤดูกาลใหม่

หมายเหตุ

เกียรติประวัติ

ฟุตบอลลีก

ฟุตบอลถ้วย

ผลงานในระดับทวีปเอเชีย

(แสดงผลเป็นปี ค.ศ.)

ที่มาhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%9F%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%B9

ประวัติสโมสรบอลทีโอที

ประวัติสโมสรบอลทีโอที

เป็นระยะเวลากว่า 30 ปี มาแล้วที่ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ได้จัดส่งทีมฟุตบอลเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลของสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์และการกีฬาแห่งประเทศไทย โดยมีบุคลากรเป็นนักฟุตบอลทีมชาติหลายคน ทำให้ บมจ.ทีโอที เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางต่อสาธารณชนทั่วไป โดย บมจ.ทีโอที ได้จัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการเข้าร่วมการแข่งขันเป็นประจำทุกปี ทั้งนี้คณะกรรมการกีฬาของ บมจ.ทีโอที ได้ดำเนินการให้มีการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ภายใต้ชื่อบริษัท ทีโอที สปอร์ต คลับ จำกัด (สโมสรทีโอทีเอสซี) เมื่อปี 2554 เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดของสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเซีย (AFC) ซึ่งปัจจุบันสโมสรทีโอทีเอสซี เป็น 1 ใน 18 ทีมฟุตบอลที่ร่วมแข่งขันฟุตบอล “สปอนเซอร์ไทยพรีเมียร์ลีก”

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

NO.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
1 ธงชาติของไทย GK วีระ เกิดพุดซา
3 ธงชาติของไทย MF ธนะศักดิ์ ศรีใส
4 ธงชาติของเกาหลีใต้ DF ลี จุน กี
5 ธงชาติของญี่ปุ่น DF ทาคาฮิโร คาวามูระ 
6 ธงชาติของไทย DF จีรณัฐ นนทเกษ
7 ธงชาติของไทย DF ปฏิภาณ เพ็ชรพูล
8 ธงชาติของไทย MF ทรงวุฒิ บัวเพ็ชร
9 ธงชาติของไทย FW สมชาย สิงห์มณี
10 ธงชาติของไทย FW ไกรสร ปั้นเจริญ
11 ธงชาติของไทย MF อิทธิพล แก้วเขียว
12 ธงชาติของไทย FW ธนากร แดงทอง
13 ธงชาติของไทย FW นภพล ผลอุดม
14 ธงชาติของอังกฤษ FW โมฮาเหม็ด บาซีร์ ซาเวจ
15 ธงชาติของไทย DF กิตติพงษ์ สมมาตร
16 ธงชาติของไทย FW อัษฎาวุฒิ จั่นช้าง
 
NO.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
17 ธงชาติของไทย MF พิชิต เกสโร
21 ธงชาติของไทย FW ประกิต ดีพร้อม
22 ธงชาติของไทย FW เอกชัย ฤทธิพันธ์
23 ธงชาติของไทย MF วิชาญ นันทศรี
24 ธงชาติของไทย MF สุริยา กุพะลัง
26 ธงชาติของไทย DF อาทิตย์ บุญพา
27 ธงชาติของบราซิล MF ราฟาเอล เดอ ซานตาน่า
29 ธงชาติของไทย MF วรุตม์ วงศ์ดี
31 ธงชาติของบราซิล MF ดีเอโก้ คอสต้า บาสโตส วอลช์
32 ธงชาติของไทย MF ภาณุวัฒน์ คล้อยสมัย
33 ธงชาติของไทย MF ปกเกล้า ลิ้มวัฒนะ
34 ธงชาติของไทย GK แมนเทวา ล่ามสมบัติ
35 ธงชาติของไทย GK วัฒนพงษ์ ตาบุดดา
36 ธงชาติของโกตดิวัวร์ MF ชีค อาบิ๊บ โฟฟาน่า

ผลงาน

ที่มาhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%9F%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%97%E0%B8%B5

ประวัติสโมสรโอสถสภาเอ็ม150สระบุรี

ประวัติสโมสรโอสถสภาเอ็ม150สระบุรี

“สโมสรฟุตบอลโอสถสภา” เริ่มก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2520 ด้วยกระแสความนิยมของฟุตบอลไทย และความสนใจในการสนับสนุนด้านกีฬาของโอสถสภาตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา โดยเกิดขึ้นจากการรวมตัวกันของพนักงานบริษัท โอสถสภา จำกัด ซึ่งส่วนใหญ่เป็นนักกีฬาฟุตบอลทีมชาติไทยที่ทำงานอยู่ในบริษัท จึงถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้โอสถสภา หันมาสนใจในการร่วมพัฒนาศักยภาพวงการฟุตบอลไทย สโมสรฟุตบอลโอสถสภา ได้พัฒนาทีมอย่างต่อเนื่อง หานักกีฬาและผู้ฝึกสอนมาร่วมสร้างทีมและพัฒนานักเตะที่มีคุณภาพ จนสามารถสร้างผลงานเป็นทีมระดับแนวหน้าของประเทศ และได้ผ่านการเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลอาชีพในรายการต่างๆ มากมาย เช่น การแข่งขันฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีกเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกเอเอฟซีคัพ และฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานควีนส์ คัพ โดยสามารถคว้าแชมป์การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานควีนส์ คัพ ได้ถึง 3 สมัยซ้อน ในปี พ.ศ. 2545 – พ.ศ. 2547 และได้ตำแหน่งแชมป์ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ก. 2 สมัย

ปัจจุบันสโมสรฟุตบอลโอสถสภา ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “สโมสรฟุตบอลโอสถสภา เอ็ม-150 สระบุรี” ภายใต้การสนับสนุนของเครื่องดื่มเอ็ม-150 และความร่วมมือจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระบุรี โดยมุ่งมั่นที่จะพัฒนาทีมอย่างเป็นระบบ ทั้งด้านบุคลากร และด้านการบริหาร เพื่อยกระดับทีม ให้ก้าวสู่มาตรฐานการแข่งขันฟุตบอลระดับสากล ตามกระแสความนิยมที่เพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

ปรับปรุงล่าสุด:23 กันยายน 2555 หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

NO.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
1 ธงชาติของไทย GK ฉัตรชัย บุตรพรม
2 ธงชาติของไทย DF โกศวัต ว่องไวลิขิต
3 ธงชาติของไทย DF เกรียงศักดิ์ ชุมพรผ่อง
4 ธงชาติของไทย DF บุญมี บุญรอด
5 ธงชาติของไทย DF ภานุวัฒน์ ไฟใหล
6 ธงชาติของไทย DF ศักดิ์ดา ฝ่ายอินทร์
7 ธงชาติของบราซิล FW ลูอีช อดูร์อาดดู พัวร์ซินู
8 ธงชาติของไทย MF วรรณพล ปุษปาคม
9 ธงชาติของนามิเบีย FW แทนเกนิ ชิพาฮู
10 ธงชาติของไทย MF เจษฎา พั่วนะคุณมี Captain sports.svg
11 ธงชาติของนามิเบีย FW ลาซารัส คาอิมบิ
13 ธงชาติของไทย MF สุรเดช ธงชัย
14 ธงชาติของไทย FW อนิรุทธ สืบยิ้ม
15 ธงชาติของโกตดิวัวร์ MF อ็องโตนี โคเมนัน
16 ธงชาติของญี่ปุ่น DF ยามาโมโตะ ฮิโรยูกิ
17 ธงชาติของไทย MF อิทธิพล ยอดพรหม
18 ธงชาติของไทย MF อภิภู สุนทรพนาเวศ
 
NO.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
19 ธงชาติของรวันดา FW จิมมี มูลิซา
20 ธงชาติของแอฟริกาใต้ MF ซูเค ซานดิเล มิชาเล
21 ธงชาติของญี่ปุ่น MF ฮิโรมิชิ คาตาโนะ
22 ธงชาติของไทย GK ประพัฒน์ ยศไกร
23 ธงชาติของไทย FW วุฒิพงษ์ เกิดกุล
24 ธงชาติของไทย MF อาทิตย์ วิเศษศิลป์
25 ธงชาติของไทย GK ณรงค์ วงษ์ทองคำ
26 ธงชาติของไทย DF เอกสิทธิ์ ฉาวบุตร
27 ธงชาติของไทย DF ศราวุฒิ จตุรภัทร
28 ธงชาติของไทย FW ชนานนท์ ป้อมบุบผา
29 ธงชาติของไทย MF อลงกรณ์ เรือนก้อน
32 ธงชาติของไทย MF อำนาจ ภมรประเสริฐ
33 ธงชาติของไทย MF ศัตรูพ่าย ศรีณรงค์
34 ธงชาติของไทย MF กอบเดช ชอบมโนธรรม

ผลงาน

ผลงานที่ดีสุดในระดับเอเชีย

ผลงานในไทยลีก

  • 2541 – ไทยลีก – อันดับ 10
  • 2542 – ไทยลีก – อันดับ 4
  • 2543 – ไทยลีก – อันดับ 8
  • 2544/45 – ไทยลีก – อันดับ 2
  • 2545/46 – ไทยลีก – อันดับ 6
  • 2546/47 – ไทยลีก – อันดับ 3
  • 2547/48 – ไทยลีก – อันดับ 3
  • 2549 – ไทยลีก – อันดับ 2
  • 2550 – ไทยลีก – อันดับ 9
  • 2551 – ไทยลีก – อันดับ 4
  • 2552 – ไทยลีก – อันดับ 5

อ้างอิง

ที่มาhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%9F%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2_%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%87%E0%B8%A1%E2%80%93150_%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B5

ประวัติสโมสรบีอีซีเทโรศาสน

 

ประวัติสโมสรบีอีซีเทโรศาสน

สโมสร เริ่มก่อตั้ง เมื่อปี พ.ศ. 2535 โดย นายวรวีร์ มะกูดี ในชื่อ โรงเรียนศาสนวิทยา ซึ่งเป็นโรงเรียน ในเขตหนองจอก กรุงเทพฯ และได้เริ่มเข้าแข่งขันใน ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ง ทำผลงานได้ดี จนเลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นใน ถ้วย ก

ต่อมา ได้รับเงินสนับสนุนจาก บริษัท บุญรอด บริวเวอรี จำกัด ผู้ผลิตเบียร์สิงห์ และ บริษัท เทโร เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (บจก.เทโร) จึงได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น สิงห์-เทโรศาสน แต่อีกช่วงหนึ่ง เบียร์สิงห์ ได้ถอนตัวจากการเป็นผู้สนับสนุน ในเวลาใกล้เคียงกัน บริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) ได้เข้าซื้อกิจการของ บจก.เทโร และเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) จึงเปลี่ยนชื่ออีกครั้ง เป็น บีอีซี-เทโรศาสน จนถึงปัจจุบัน

สโมสร บีอีซี เทโรศาสน ได้ลงนามในสัญญา ร่วมกับ สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล ใน พรีเมียร์ลีก ก่อตั้งบริษัทที่ทำธุรกิจด้านฟุตบอลโดยเฉพาะขึ้นมา ซึ่งมี ร้านขายของที่ระลึก ที่ เซ็นทรัลเวิลด์ อนาคตทางบีอีซี เทโร ศาสนเตรียมตอกเสาเข็มสร้างสนามเหย้าเป็นของตัวเองมูลค่า 600 ล้านบาท โดยรอสรุปเรื่องสถานที่ตั้งในขั้นตอนสุดท้ายโดยจะตั้งอยู่ชานเมืองหลวงของไทยซึ่งจะแถลงข่าวในเดือนสิงหาคมนี้

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

No.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
1 ธงชาติของไทย GK พิศาล ดอกไม้แก้ว
2 ธงชาติของไทย MF พีระพัฒน์ โน้ตชัยยา
3 ธงชาติของไทย DF อภิวัฒน์ งั่วลำหิน
7 ธงชาติของไทย MF รังสรรค์ วิวัฒน์ชัยโชค 
8 ธงชาติของบราซิล MF กาเบรียล ดาวิส ดูซ ซังตูซ
9 ธงชาติของไทย FW ซารีฟ สายนุ้ย
10 ธงชาติของสเปน MF อาร์ตูโร การ์เซีย มูยอซ
11 ธงชาติของไทย DF อภิเชษฐ์ พุฒตาล
13 ธงชาติของไทย DF นฤบดินทร์ วีรวัฒนโนดม
14 ธงชาติของไทย MF วิชะยา เดชมิตร
15 ธงชาติของไทย MF อมร ธรรมนาม
17 ธงชาติของไทย FW อัครพล มีสวัสดิ์
18 ธงชาติของไทย MF ชนาธิป สรงกระสินธ์
19 ธงชาติของไทย MF ธณบูรณ์ เกษารัตน์
20 ธงชาติของกานา MF กิลเบิร์ต คูมสัน
21 ธงชาติของไทย MF ใหญ่ นิลวงศ์
22 ธงชาติของไทย DF วิทยา มูลวงศ์
23 ธงชาติของบราซิล FW คลีตัน โอลิเวียรา ซิลวา
 
No.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
24 ธงชาติของไทย GK แซมมวล ป.คันนิ่งแฮม
27 ธงชาติของไทย MF พลไชย หงษ์ทอง
29 ธงชาติของไทย GK วรวุฒิ แก้วผูก
31 ธงชาติของไทย MF ภานุวัฒน์ ยิ้มสง่า
6 ธงชาติของไทย DF ณัฐพร พันธุ์ฤทธิ์ (รองกัปตันทีม)
34 ธงชาติของไทย DF ภรัณยู อุปละ
  ธงชาติของเลบานอน FW ฮัสซัน โมฮาหมัด
  ธงชาติของไทย DF กอบเดช ชอบมโนธรรม
  ธงชาติของไทย FW รณชัย รังสิโย
  ธงชาติของไทย DF กรกฎ วิริยะอุดมศิริ
  ธงชาติของไทย DF วุฒิศักดิ์ มณีสุข

 

สัญลักษณ์เดิมของสโมสรฯ เริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2541

อดีตผู้เล่นคนสำคัญ

สปอนเซอร์และผู้ผลิตชุด

1996-2012

# ปี เสื้อของ สปอนเซอร์
1 1996–97 Singha
2 1997 แกรนด์สปอร์ตกรุ๊ป
3 1998 Adidas Caltex
4 1999 Adidas Caltex
5 2000 Adidas Caltex
6 2001–02 Adidas Singha
7 2002–03 Adidas
8 2003–04 Adidas
9 2004–05 Adidas
10 2006 Nike Fly Emirates
11 2007 Nike Fly Emirates
12 2008 Nike Fly Emirates
13 2009 Nike Fly Emirates
14 2010 Nike 3เคแบตเตอรี่
15 2011 FBT 3เคแบตเตอรี่
16 2012 FBT สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

ผลงาน

ผลงานในไทยลีก

  • 2539 – ไทยลีก – อันดับ 12 (สิงห์เทโรศาสน)
  • 2540 – ไทยลีก – อันดับ 5 (เทโรศาสน)
  • 2541 – ไทยลีก – อันดับ 3
  • 2542 – ไทยลีก – อันดับ 3
  • 2543 – ไทยลีก – ชนะเลิศ
  • 2544/45 – ไทยลีก – ชนะเลิศ
  • 2545/46 – ไทยลีก – อันดับ 2
  • 2546/47 – ไทยลีก – อันดับ 2
  • 2547/48 – ไทยลีก – อันดับ 6
  • 2549 – ไทยลีก – อันดับ 3
  • 2550 – ไทยลีก – อันดับ 3
  • 2551 – ไทยลีก – อันดับ 3
  • 2552 – ไทยลีก – อันดับ 4
  • 2553 – ไทยลีก – อันดับ 9
  • ผลงานที่ดีสุดในระดับเอเชีย

สโมสรพันธมิตร

แหล่งข้อมูลอื่น

ที่มาhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%9F%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%8B%E0%B8%B5_%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99

ประวัติสโมสรบีอีซีเทโรศาสน

ประวัติสโมสรบีอีซีเทโรศาสน

สโมสร เริ่มก่อตั้ง เมื่อปี พ.ศ. 2535 โดย นายวรวีร์ มะกูดี ในชื่อ โรงเรียนศาสนวิทยา ซึ่งเป็นโรงเรียน ในเขตหนองจอก กรุงเทพฯ และได้เริ่มเข้าแข่งขันใน ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ง ทำผลงานได้ดี จนเลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นใน ถ้วย ก

ต่อมา ได้รับเงินสนับสนุนจาก บริษัท บุญรอด บริวเวอรี จำกัด ผู้ผลิตเบียร์สิงห์ และ บริษัท เทโร เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (บจก.เทโร) จึงได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น สิงห์-เทโรศาสน แต่อีกช่วงหนึ่ง เบียร์สิงห์ ได้ถอนตัวจากการเป็นผู้สนับสนุน ในเวลาใกล้เคียงกัน บริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) ได้เข้าซื้อกิจการของ บจก.เทโร และเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) จึงเปลี่ยนชื่ออีกครั้ง เป็น บีอีซี-เทโรศาสน จนถึงปัจจุบัน

สโมสร บีอีซี เทโรศาสน ได้ลงนามในสัญญา ร่วมกับ สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล ใน พรีเมียร์ลีก ก่อตั้งบริษัทที่ทำธุรกิจด้านฟุตบอลโดยเฉพาะขึ้นมา ซึ่งมี ร้านขายของที่ระลึก ที่ เซ็นทรัลเวิลด์ อนาคตทางบีอีซี เทโร ศาสนเตรียมตอกเสาเข็มสร้างสนามเหย้าเป็นของตัวเองมูลค่า 600 ล้านบาท โดยรอสรุปเรื่องสถานที่ตั้งในขั้นตอนสุดท้ายโดยจะตั้งอยู่ชานเมืองหลวงของไทยซึ่งจะแถลงข่าวในเดือนสิงหาคมนี้

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

No.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
1 ธงชาติของไทย GK พิศาล ดอกไม้แก้ว
2 ธงชาติของไทย MF พีระพัฒน์ โน้ตชัยยา
3 ธงชาติของไทย DF อภิวัฒน์ งั่วลำหิน
7 ธงชาติของไทย MF รังสรรค์ วิวัฒน์ชัยโชค 
8 ธงชาติของบราซิล MF กาเบรียล ดาวิส ดูซ ซังตูซ
9 ธงชาติของไทย FW ซารีฟ สายนุ้ย
10 ธงชาติของสเปน MF อาร์ตูโร การ์เซีย มูยอซ
11 ธงชาติของไทย DF อภิเชษฐ์ พุฒตาล
13 ธงชาติของไทย DF นฤบดินทร์ วีรวัฒนโนดม
14 ธงชาติของไทย MF วิชะยา เดชมิตร
15 ธงชาติของไทย MF อมร ธรรมนาม
17 ธงชาติของไทย FW อัครพล มีสวัสดิ์
18 ธงชาติของไทย MF ชนาธิป สรงกระสินธ์
19 ธงชาติของไทย MF ธณบูรณ์ เกษารัตน์
20 ธงชาติของกานา MF กิลเบิร์ต คูมสัน
21 ธงชาติของไทย MF ใหญ่ นิลวงศ์
22 ธงชาติของไทย DF วิทยา มูลวงศ์
23 ธงชาติของบราซิล FW คลีตัน โอลิเวียรา ซิลวา
 
No.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
24 ธงชาติของไทย GK แซมมวล ป.คันนิ่งแฮม
27 ธงชาติของไทย MF พลไชย หงษ์ทอง
29 ธงชาติของไทย GK วรวุฒิ แก้วผูก
31 ธงชาติของไทย MF ภานุวัฒน์ ยิ้มสง่า
6 ธงชาติของไทย DF ณัฐพร พันธุ์ฤทธิ์ (รองกัปตันทีม)
34 ธงชาติของไทย DF ภรัณยู อุปละ
  ธงชาติของเลบานอน FW ฮัสซัน โมฮาหมัด
  ธงชาติของไทย DF กอบเดช ชอบมโนธรรม
  ธงชาติของไทย FW รณชัย รังสิโย
  ธงชาติของไทย DF กรกฎ วิริยะอุดมศิริ
  ธงชาติของไทย DF วุฒิศักดิ์ มณีสุข

 

สัญลักษณ์เดิมของสโมสรฯ เริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2541

อดีตผู้เล่นคนสำคัญ

สปอนเซอร์และผู้ผลิตชุด

1996-2012

# ปี เสื้อของ สปอนเซอร์
1 1996–97 Singha
2 1997 แกรนด์สปอร์ตกรุ๊ป
3 1998 Adidas Caltex
4 1999 Adidas Caltex
5 2000 Adidas Caltex
6 2001–02 Adidas Singha
7 2002–03 Adidas
8 2003–04 Adidas
9 2004–05 Adidas
10 2006 Nike Fly Emirates
11 2007 Nike Fly Emirates
12 2008 Nike Fly Emirates
13 2009 Nike Fly Emirates
14 2010 Nike 3เคแบตเตอรี่
15 2011 FBT 3เคแบตเตอรี่
16 2012 FBT สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

ผลงาน

ผลงานในไทยลีก

  • 2539 – ไทยลีก – อันดับ 12 (สิงห์เทโรศาสน)
  • 2540 – ไทยลีก – อันดับ 5 (เทโรศาสน)
  • 2541 – ไทยลีก – อันดับ 3
  • 2542 – ไทยลีก – อันดับ 3
  • 2543 – ไทยลีก – ชนะเลิศ
  • 2544/45 – ไทยลีก – ชนะเลิศ
  • 2545/46 – ไทยลีก – อันดับ 2
  • 2546/47 – ไทยลีก – อันดับ 2
  • 2547/48 – ไทยลีก – อันดับ 6
  • 2549 – ไทยลีก – อันดับ 3
  • 2550 – ไทยลีก – อันดับ 3
  • 2551 – ไทยลีก – อันดับ 3
  • 2552 – ไทยลีก – อันดับ 4
  • 2553 – ไทยลีก – อันดับ 9
  • ผลงานที่ดีสุดในระดับเอเชีย

สโมสรพันธมิตร

แหล่งข้อมูลอื่น

ที่มาhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%9F%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%8B%E0%B8%B5_%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99

สโมสรฟุตบอลศรีราชา

สโมสรฟุตบอลศรีราชา

 

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

ชุด ไทยลีกดิวิชั่น 1 2555 หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

No.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
2 ธงชาติของไทย DF สุรชัย สีเทา
3 ธงชาติของบราซิล DF ดีเอโก โรเบิร์ต
4 ธงชาติของไทย DF ปิยะวิทย์ จันพุทธ
5 ธงชาติของไทย MF ก่อเกริก เพ็ชรคงทอง
6 ธงชาติของไทย DF ณัฐวุฒิ งามเถื่อน
7 ธงชาติของไทย DF อดิศร สัพโส
8 ธงชาติของไทย MF อำไพ มุธาพร
9 ธงชาติของไทย FW สุรวิช โลกาวิทย์
10 ธงชาติของไทย FW อนุวัฒน์ นาคเกษม
11 ธงชาติของกินี FW ซลีล่า เซกู
13 ธงชาติของญี่ปุ่น GK โคชิ จุน
14 ธงชาติของไทย FW ปิยะพงษ์ ปัตสุข
15 ธงชาติของไทย DF ธนพล ห่วงประโคน
16 ธงชาติของไทย DF สุจริต จันทกล
17 ธงชาติของไทย DF วสันต์ ทบเทิบ
 
No.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
18 ธงชาติของญี่ปุ่น FW ยูตะ ฮามาดะ
19 ธงชาติของไทย MF สุทธิวัส สว่างฤกษ์
20 ธงชาติของญี่ปุ่น MF ไซยะ โคจิมะ
21 ธงชาติของไทย FW ศิรภัทร หิรัญวัฒนะตระกูล
22 ธงชาติของไทย GK นันทพล ศุภไทย
23 ธงชาติของไทย MF ประธาน เสนาลา
25 ธงชาติของไทย MF ธรรมรัฐ กุสสลานุภาพ
26 ธงชาติของไทย MF ชาติตระการ สุธรรม
29 ธงชาติของไทย MF นรากร คณา
30 ธงชาติของบราซิล DF ดักลาส โคโบ
33 ธงชาติของอาร์เจนตินา FW กัสตัน ราอูล กอนซาเลส
34 ธงชาติของไทย MF ปุณณวัตติ์ อินท์โพธิ์
36 ธงชาติของไทย MF ณัฐธพงษ์ สุขงาม
40 ธงชาติของไทย GK ชนินทร์ แซ่เอียะ

ผลงาน

ที่มาhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%9F%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B2

ประวัติสโมสรบางกอกกล๊าส

ประวัติสโมสรบางกอกกล๊าส

สโมสรบางกอกกล๊าสเริ่มต้นในช่วงก่อตั้งโรงงานบางกอกกล๊าส ในปี พ.ศ. 2522 โดยเป็นการรวมตัวกันเพื่อแข่งขันเป็นการภายในของพนักงาน และต่อมาจึงได้ส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขันภายนอก ในช่วงปี พ.ศ. 2532 ซึ่งเป็นการแข่งขันกันในกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรม ในเขตจังหวัดปทุมธานี จนเริ่มเป็นที่รู้จักของบุคคลทั่วไป

ปี พ.ศ. 2542 พนักงานและกลุ่มผู้บริหารได้รวมตัวกันจัดตั้งชมรมฟุตบอลอย่างเป็นรูปธรรมขึ้นมา และเมื่อชมรมมีความพร้อมในด้านต่างๆ ทั้งด้านอุปกรณ์ และสนาม จีงมีก่อตั้งสโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าสขึ้นในเดือน เมษายน พ.ศ. 2549 และเปิดคัดนักกีฬาในเดือนต่อมา โดยได้เข้าเป็นสมาชิกของสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในปีดังกล่าว

การแข่งขันอย่างเป็นทางการครั้งแรกของสโมสรคือการเข้าร่วมแข่งขัน ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน ประเภท ง.ประจำปี พ.ศ. 2550 ซึ่งสโมสรประสบความสำเร็จเมื่อได้ตำแหน่งรองแชมป์ และได้สิทธิเลื่อนชั้นไปเล่นในถ้วย ค.ในปีต่อมา

ปี พ.ศ. 2551 สโมสรได้จัดตั้งบริษัท BGFC SPORT จำกัดขึ้น เพื่อดำเนินการบริหารสโมสรและให้เป็นไปตามแนวทางที่เอเอฟซีกำหนด นอกจากนี้ทีมบางกอกกล๊าสยังมีทีมฟุตซอลของตัวเอง ซึ่งลงแข่งในฟุตซอลไทยแลนด์ลีกอีกด้วย

ในช่วงเดือน มกราคม พ.ศ. 2552 สโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงไทยจากศึก ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก ได้ประกาศยุบทีม เนื่องจากไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขที่เอเอฟซีกำหนดในเรื่องการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลได้ สโมสรบางกอกกล๊าสจึงได้ทำการเทคโอเวอร์ สโมสรธนาคารกรุงไทย โดยจะได้ลงแข่งใน ไทยพรีเมียร์ลีก ปี พ.ศ. 2552 แทนที่ของสโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงไทยที่ยุบทีม

ทีมงานชุดปัจจุบัน ปี 2556

รายชื่อสต๊าฟโค๊ช (พ.ศ. 2556 – ปัจจุบัน)

ชื่อ สัญชาติ ตำแหน่ง
ศุภสิน ลีลาฤทธิ์ ธงชาติของไทย รองประธานสโมสร
อนุรักษ์ ศรีเกิด ธงชาติของไทย หัวหน้าผู้ฝึกสอน
ณรงค์ สัยเกตุ ธงชาติของไทย ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน
อภิสิทธิ์ อิ่มอำไพ ธงชาติของไทย ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน
อนุกูล กันยายน ธงชาติของไทย ผู้ฝึกสอนผู้รักษาประตูชุดใหญ่
ธนกร ศศะยานันท์ ธงชาติของไทย นักกายภาพบำบัด
ราฟาเอล เมลโล มอนเตอีโร ธงชาติของบราซิล ฟิตเนส เทรนเนอร์

[แก้]ผู้เล่นชุดปัจจุบัน ปี 2556

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

No.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
1 ธงชาติของไทย GK นริศ ทวีกุล
2 ธงชาติของไทย DF วสันต์ ฮมแสน
4 ธงชาติของไทย DF ทัศนา แช่มสะอาด
5 ธงชาติของญี่ปุ่น DF ชินโนะสุเกะ ฮอนดะ
6 ธงชาติของไทย DF อำนาจ แก้วเขียว Captain sports.svg
7 ธงชาติของอังกฤษ FW บิลลี่ เมห์เม็ต
8 ธงชาติของไทย MF เอกพันธ์ อินทเสน
9 ธงชาติของบราซิล FW เลอันโดร ดอส ซานโต๊ส
10 ธงชาติของไทย FW ศุภเสกข์ ไก่แก้ว
11 ธงชาติของไทย MF กรกช วิริยอุดมศิริ
14 ธงชาติของไทย FW ธีรเทพ วิโนทัย
15 ธงชาติของไทย MF ภูริทัต จาริกานนท์
16 ธงชาติของไทย MF ปีเตอร์ แลง
18 ธงชาติของไทย GK กฤษณะ กลั่นกลิ่น
 
No.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
19 ธงชาติของไทย FW เอกภพ แสนสระ
20 ธงชาติของญี่ปุ่น MF ฮิโรโนริ ซารูตะ
22 ธงชาติของฝรั่งเศส FW โกรัน เยอร์โควิช
23 ธงชาติของไทย MF พีรพงษ์ พิชิตโชติรัตน์
26 ธงชาติของออสเตรเลีย DF โกรัน ซูบาร่า
28 ธงชาติของไทย MF องอาจ ภมรประเสริฐ
29 ธงชาติของไทย FW ชาตรี ฉิมทะเล
31 ธงชาติของคอสตาริกา DF โฮเซ่ เมน่า อัลฟาโร่
32 ธงชาติของไทย DF ปิยะชาติ ถามะพันธ์
34 ธงชาติของไทย DF ชัชนันท์ ห้วยหงษ์ทอง
36 ธงชาติของไทย DF สุวรรณภัทร์ กิ่งแก้ว
38 ธงชาติของไทย GK สุรศักดิ์ โบอุ่ม
39 ธงชาติของไทย MF ธนาสิทธิ์ ศิริผลา
40 ธงชาติของไทย DF วัสพล โทสันเทียะ
เข้า ปี 2556

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

No.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
  ธงชาติของแคเมอรูน MF คริส เอ็มบอนดี้ (ยืมตัวจาก เอฟซี ซิยง)
  ธงชาติของไทย GK นริศ ทวีกุล (ย้ายจาก พัทยา ยูไนเต็ด)
  ธงชาติของไทย DF เฉลิมเกียรติ บุตรเนตร (ย้ายจาก บางกอก เอฟซี)
  ธงชาติของไทย DF ภูริทัต จาริกานนท์ (ย้ายจาก ชลบุรี เอฟซี)
  ธงชาติของไทย FW ศุภเสกข์ ไก่แก้ว (ยืมตัวจาก ชลบุรี เอฟซี)
  ธงชาติของญี่ปุ่น DF ชินโนะสุเกะ ฮอนดะ (ยืมตัวจาก บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
  ธงชาติของไทย DF กรกช วิริยอุดมศิริ (ยืมตัวจาก บีอีซีเทโรศาสน)
  ธงชาติของไทย GK สุรศักดิ์ โบอุ่ม (ทีมเยาวชน)
  ธงชาติของไทย DF สุวรรณภัทร์ กิ่งแก้ว (ทีมเยาวชน)
  ธงชาติของไทย DF ชัชนันท์ ห้วยหงษ์ทอง (ทีมเยาวชน)
  ธงชาติของไทย DF ทัศนา แช่มสะอาด (ย้ายจาก ทีทีเอ็ม เชียงใหม่)
  ธงชาติของไทย DF ปิยะชาติ ถามะพันธ์ (ย้ายจาก เมืองทอง ยูไนเต็ด)
  ธงชาติของคอสตาริกา DF โฮเซ่ เมน่า อัลฟาโร่ (ย้ายจาก เซเลดอน คอสตาริก้า)
  ธงชาติของบราซิล FW เลอันโดร ดอส ซานโต๊ส (ย้ายจาก อินทรีเพื่อนตำรวจ)
  ธงชาติของRepublic of Ireland FW บิลลี่ เมห์เม็ต (ย้ายจาก เพิร์ธ กลอรี่)
  ธงชาติของออสเตรเลีย FW โกรัน ซูบาร่า (ย้ายจาก บาเลสเทียร์ คัลซ่า)
  ธงชาติของฝรั่งเศส FW โกรัน เยอร์โควิช (ยืมตัวจาก บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
ออก ปี 2556

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

No.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
22 ธงชาติของญี่ปุ่น MF คูนิฮิโกะ ทากิซาวะ (หมดสัญญา)
7 ธงชาติของฝรั่งเศส MF ฟลาเวียง มีเชลีนี (หมดสัญญา)
21 ธงชาติของไนจีเรีย FW จอร์จ อีเฮียนาโช อีเกห์ (หมดสัญญา)
10 ธงชาติของประเทศจอร์เจีย FW จอร์จี้ ซีมาคูริดเซ่ (ย้ายไป ภูเก็ต เอฟซี)
27 ธงชาติของบราซิล DF ราฟาเอล โซอูซา ซิลวา โนวาอิส (หมดสัญญา)
35 ธงชาติของไทย DF ทนงศักดิ์ ประจักกะตา (ย้ายไป ชัยนาท เอฟซี)
4 ธงชาติของไทย DF นพพล ปิตะฝ่าย (ย้ายไป ชัยนาท เอฟซี)
34 ธงชาติของไทย MF จงรักษ์ ภักดี (ย้ายไป อาร์มี่ ยูไนเต็ด)
9 ธงชาติของไนจีเรีย FW ซามูเอล เบงกา อาจายี (ย้ายไป ชลบุรี เอฟซี)
32 ธงชาติของไทย GK กฤษกร เกิดผล (ย้ายไป ชัยนาท เอฟซี)
15 ธงชาติของไทย FW อนาวิน จูจีน (ย้ายไป บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
17 ธงชาติของไทย DF ศุภชัย คมศิลป์ (ย้ายไป เชียงราย ยูไนเต็ด)
11 ธงชาติของไทย DF ศรันย์ พรมแก้ว (ย้ายไป เชียงราย ยูไนเต็ด)
8 ธงชาติของไทย MF นิรุจน์ สุระเสียง (ย้ายไป สุพรรณบุรี เอฟซี)
24 ธงชาติของไทย MF ศิวะพงษ์ เจริญศิลป์ (ย้ายไป ปตท. ระยอง)
ยืมตัว ปี 2556

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

No.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
  ธงชาติของไทย DF ประวีณวัช บุญยงค์ (ยืมตัวไป ชัยนาท เอฟซี)
  ธงชาติของแคเมอรูน DF วาเลรี เฮียค (ยืมตัวไป ชัยนาท เอฟซี)
  ธงชาติของไทย GK ศรายุทธ พูลทรัพย์ (ยืมตัวไป บีบีซียู เอฟซี)
  ธงชาติของแคเมอรูน MF คริส เอ็มบอนดี้ (ยืมตัวไป ขอนแก่น เอฟซี)
  ธงชาติของไทย MF สุบรรณ เงินประเสริฐ (ยืมตัวไป ธนบุรี-บีจี ยูไนเต็ด)
  ธงชาติของไทย DF เฉลิมเกียรติ บุตรเนตร (ยืมตัวไป สิงห์ท่าเรือ)

[แก้]หัวหน้าผู้ฝึกสอน ในอดีต

รายชื่อหัวหน้าผู้ฝึกสอน (พ.ศ. 2552 – ปัจจุบัน)

ชื่อ สัญชาติ ระยะเวลา เกียรติยศ
Mr.Hans Rudolf Franz Emser ธงชาติของเยอรมนี มี.ค. 2552 – มิ.ย. 2552  
สุรชัย จตุรภัทรพงษ์ ธงชาติของไทย มิ.ย. 2552 – มิ.ย. 2553 สิงค์โปร์คัพ รองชนะเลิศ 2552, ควีนส์คัพ ชนะเลิศ 2553
CARLOS ROBERTO DE CARVALHO ธงชาติของบราซิล มิ.ย. 2553 – ต.ค. 2553  
ศุภสิน ลีลาฤทธิ์/สาธิต เบ็ญโสะ ธงชาติของไทย ต.ค. 2553 – มี.ค. 2554 สิงค์โปร์คัพ ชนะเลิศ 2553
อาจหาญ ทรงงามทรัพย์ ธงชาติของไทย มี.ค. 2554 – ธ.ค. 2554  
สุรชัย จตุรภัทรพงษ์ ธงชาติของไทย ม.ค. 2555 – ก.ย. 2555  
ฟิล สตับบินส์ ธงชาติของอังกฤษ ต.ค. 2555 – มี.ค. 2556  
อนุรักษ์ ศรีเกิด ธงชาติของไทย มี.ค. 2556 – ปัจจุบัน  

นักเตะบางกอกล๊าส ในอดีต

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

No.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
  ธงชาติของไทย GK นราธิป พันธ์พร้อม (1 ปี)
  ธงชาติของไทย DF ธาดา คลีละลาย (1 ปี)
  ธงชาติของไทย DF สุรเชษฐ์ ภูผา (1 ปี)
  ธงชาติของไทย DF สุรชัย ภูผา (1 ปี)
  ธงชาติของไทย MF กิตติพงษ์ รงค์รักษ์ (1 ปี)
  ธงชาติของไทย MF ณหทัย สุขสมบัติ (1 ปี)
  ธงชาติของไทย FW เมธี ปุ้งโพธิ์ (1 ปี)
  ธงชาติของไทย DF ไกรเกียรติ เบียดตะคุ (1 ปี)
  ธงชาติของไทย FW นันทวัฒน์ แทนโสภา (1 ปี)
  ธงชาติของไทย MF อนนท์ บุญสุโข (1 ปี 6 เดือน)
  ธงชาติของไทย DF รุ่งโรจน์ สว่างศรี (1 ปี 6 เดือน)
  ธงชาติของไทย MF ธนัตถ์ วงศ์ศุภลักษณ์ (1 ปี 6 เดือน)
  ธงชาติของไทย FW วุฒิพงศ์ เกิดกุล (6 เดือน)
  ธงชาติของไทย DF เดชา เพชรตะกั่ว (1 ปี 6 เดือน)
  ธงชาติของไทย DF วีรศักดิ์ แม้นอินทร์ (4 เดือน)
  ธงชาติของไทย MF สุรเชษฐ งามทิพย์ (2 ปี)
  ธงชาติของไทย DF ชูชัย เหมือนทิพย์ (2 ปี)
  ธงชาติของไทย MF วรรณพล บุษปาคม (2 ปี)
  ธงชาติของไทย GK กิตติศักดิ์ ระวังป่า (2 ปี)
  ธงชาติของไทย DF ภานุวัฒน์ ไฟไหล (1 ปี 6 เดือน)
  ธงชาติของไทย MF สุธี สุขสมกิจ (2 ปี 6 เดือน)
  ธงชาติของไทย MF วิชะยา เดชมิตร (2 ปี 6 เดือน)
  ธงชาติของไทย DF ธฤติ โนนศรีชัย (2 ปี)
  ธงชาติของไทย DF ทนงศักดิ์ ประจักกะตา (3 ปี 6 เดือน)
  ธงชาติของไทย DF นพพล ปิตะฝ่าย (2 ปี 6 เดือน)
  ธงชาติของไทย MF จงรักษ์ ภักดี (2 ปี)
  ธงชาติของไทย GK กฤษกร เกิดผล (3 ปี)
  ธงชาติของไทย MF อนาวิน จูจิน (4 ปี)
  ธงชาติของไทย DF ศุภชัย คมศิลป์ (4 ปี)
  ธงชาติของไทย MF ศรันย์ พรมแก้ว (4 ปี)
  ธงชาติของไทย MF นิรุจน์ สุระเสียง (6 เดือน)
 
No.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
  ธงชาติของชิลี FW เนลสัน ซาน มาร์ติน (5 เดือน)
  ธงชาติของโกตดิวัวร์ MF โคเน่ กาซิม (1 ปี 6 เดือน)
  ธงชาติของบราซิล FW เนย์ ฟาเบียโน (6 เดือน)
  ธงชาติของบราซิล MF ฟาบริโอ มาเกรา (4 เดือน)
  ธงชาติของฝรั่งเศส FW ซิลแว็ง อิดองก้า (4 เดือน)
  ธงชาติของแคเมอรูน FW พอล เอคโคโล่ บีคอมโบ้ (1 ปี 6 เดือน)
  ธงชาติของเวลส์ FW ไมเคิล เบิร์น (1 ปี)
  ธงชาติของบราซิล FW เปาลินโญ่ (6 เดือน)
  ธงชาติของกินี MF ซิลล่า มุสซ่า (1 ปี 6 เดือน)
  ธงชาติของบราซิล MF เอเลียส เฟอร์ไรร่า มิรันดา (6 เดือน)
  ธงชาติของญี่ปุ่น MF คูนิฮิโกะ ทากิซาวะ (2 ปี)
  ธงชาติของฝรั่งเศส MF ฟลาเวียง มีเชลีนี (1 ปี 6 เดือน)
  ธงชาติของไนจีเรีย FW จอร์จ อีเฮียนาโช อีเกห์ (6 เดือน)
  ธงชาติของประเทศจอร์เจีย FW จอร์จี้ ซีมาคูริดเซ่ (6 เดือน)
  ธงชาติของบราซิล DF ราฟาเอล โซอูซา ซิลวา โนวาอิส (1 ปี 6 เดือน)
  ธงชาติของไนจีเรีย FW ซามูเอล เบงกา อาจายี (4 ปี)

[แก้]ตารางคะแนนในฟุตบอลลีก

ฤดูกาล ดิวิชัน อันดับที่ นัด W D L F A +/- แต้ม เหย้า W D L F A +/- แต้ม เยือน W D L F A +/- แต้ม ดาวซัลโวสูงสุด จำนวนประตู
2556 TPL                                                      
2555 TPL 8th 34 10 15 9 53 39 14 45 17 8 7 2 33 15 18 31 17 2 8 7 20 24 (-4) 14 อาจายี่ เบงกา 11
2554 TPL 5th 34 15 8 11 55 41 14 53 17 11 3 3 36 15 21 36 17 4 5 8 19 26 (-7) 17 ศรายุทธ ชัยคำดี 15
2553 TPL 5th 30 12 9 9 48 38 10 45 15 8 6 1 28 12 16 30 15 4 3 8 20 26 (-6) 15 ชาตรี ฉิมทะเล 10
2552 TPL 3rd 30 16 8 6 45 31 14 56 15 11 4 0 25 11 14 37 15 5 4 6 20 20 0 19 นันทวัฒน์ แทนโสภา 8

ฟุตบอลถ้วย

ปี ถ้วย ก. เอฟเอคัพ ลีกคัพ
2556    
2555 รอบรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ
2554 รอบ 4 รอบ 32ทีม
2553 รอบ 3 รอบ 8ทีม
2552 รอบก่อนรอง

เกียรติยศ

เกียรติยศ จำนวน ฤดูกาล
ถ้วยภายในประเทศ
ควีนส์ คัพ ชนะเลิศ 1 2553
ไทย ซูเปอร์คัพ ชนะเลิศ 1 2552
ถ้วยนอกประเทศ
สิงคโปร์คัพ ชนะเลิศ 1 2553
สิงคโปร์คัพ รองชนะเลิศ 1 2552

อะคาเดมี่ สโมสรบางกอกกล๊าส

สโมสรบางกอกกล๊าส ได้เปิดอะคาเดมี่ฟุตบอล สำหรับเยาวชน เพื่อคัดเลือกเยาวชนที่มีความสนใจด้านการฝึกทักษะความสามารถด้านฟุตบอลในระดับพื้นฐานจนถึงระดับสูงในหลักสูตรสากล โดยมีโค๊ชผู้ฝึกสอนระดับมืออาชีพ สร้างให้ผู้เรียนได้มีความรุ้ด้านฟุตบอลถูกต้องและสามารถทำให้ผู้เรียนเป็นนักกีฬาอย่างแท้จริง และสามารถนำไปปรับใช้เพื่อในอนาคตก้าวไปสู่ระดับอาชีพได้

สโมสร จึงเปิดศูนย์ฝึกสอนฟุตบอลบางกอกกล๊าส ได้เปิดสอนเยาวชนมาตั้งแต่ปี 2552 ทั้งนี้ – เปิดคลินิกฟุตบอล (เสาร์-อาทิตย์) เป็นประจำ – คัดเลือกนักเตะเยาวชน เข้ามาอยุ่ในสังกัดอคาเดมี่ เพื่อเตรียมตัวเข้าสู่ทีมชุดใหญ่ของสโมสรต่อไป

ปี 2555 สโมสรบางกอกกล๊าส ได้เซ็นสัญญา ร่วมเป็นพันธมิตรกับโรงเรียนอัสสัมชัญ ในโครงการอัสสัมชัญ แคมปัส พระราม 2 เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนนักเตะ บุคลากร ของโรงเรียน ให้มีความรู้ความสามารถด้านฟุตบอลมากยิ่งขึ้น และย้งพัฒนานักเตะเยาวชนที่มีความรู้ความสามารถ เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของนักเตะบางกอกกล๊าสในอนาคตต่อไป

ปี 2555 สโมสรบางกอกกล๊าส ได้สนับสนุนให้ ส.บางกอกกล๊าส (รังสิต เอฟซี) เข้าแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภทข. จนคว้าแชมป์ถ้วยพระราชทานได้สำเร็จ และได้เลื่อนชั้นขึ้นมาเล่น ฟุตบอลลีกภูมิภาค โซนกรุงเทพฯและปริมณฑล โดยสโมสรมีนโยบายจะให้ทีม สโมสรฟุตบอลรังสิต เอฟซี นั้นเป็นเวทีแจ้งเกิด ของนักฟุตบอลเยาวชนของสโมสร เป็นการสร้างโอกาส ฝึกฝน เรียนรู้การเป็นนักเตะอาชีพ ก่อนที่จะได้รับโอกาสขึ้นมาเล่นใน สโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าส ต่อไป

ปี 2556 สโมสรบางกอกกล๊าส ได้สนับสนุนให้ ส.บางกอกกล๊าส (รังสิต เอฟซี) เป็นพันธมิตร 2ปี กับมหาวิทยาลัยธนบุรี ในการจับมือร่วมกันทำทีม สโมสรธนบุรี-บีจี ยูไนเต็ด ส่งทีมเข้าแข่งขันฟุตบอลลีกภูมิภาค โซนภาคกลางและภาคตะวันตก โดยมีโค๊ชสาธิต เบ็ญโสะ เป็นหัวหน้าสต๊าฟโค๊ช และมีนักเตะเยาวชนสโมสรบางกอกกล๊าสร่วมทีม

ผอ.ศูนย์ฝึกเยาวชน ประเทศ ปี
Mr.Hans Rudolf Franz Emser ธงชาติของเยอรมนี พ.ศ. 2552-ปัจจุบัน
ผลงานทีมเยาวชน
ปี U12 U14 U16 U18-20
2555       รังสิตเอฟซี/อันดับ11 D2 ลีกภูมิภาคโซนกรุงเทพ
2554   รองชนะเลิศ ฟุตบอล PM CUP   FAยูธคัพ รอบ8ทีม, โค๊กคัพ รอบรองของกลุ่ม 2

สโมสรพันธมิตร

[แก้]อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

 
คอมมอนส์ มีภาพและสื่ออื่น ๆ เกี่ยวกับ:
สโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าส

สโมสรฟุตบอลชลบุรี

สโมสรฟุตบอลชลบุรี

ยุคเริ่มต้น (โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา)

ทีมสโมสรฟุตบอลจังหวัดชลบุรี แต่เดิมเป็น ทีมสโมสรฟุตบอลของโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา และได้เข้าร่วมแข่งขัน ฟุตบอลสโมรสรชิงถ้วยพระราชทาน ต่อมาได้ถูกรวมเข้ากับทีม สโมสรสันนิบาตสมุทรปราการ โดยใช้ชื่อ สโมสรฟุตบอลชลบุรี-สันนิบาตสมุทรปราการ ได้เข้าแข่งขันใน ดิวิชัน 1

ต่อมาได้ย้ายไปเล่นใน โปรวินเชียลลีก ในชื่อ สโมรสรฟุตบอลชลบุรี และได้แยกทีม สโมสรฟุตบอลชลบุรี-สันนิบาตสมุทรปราการ ซึ่งเล่นในดิวิชัน 1 อยู่ โดยทีมสโมสรชลบุรีนั้นได้นำผู้เล่นจากโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา และโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี และได้ชนะเลิศโปรลีกในปี 2548 และได้เลื่อนมาเล่นใน ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีกในปี 2549

ในปี 2549 ทีมชลบุรี ร่วมลงแข่งขันฟุตบอลควีนส์คัพ ในนามของ สโมสรราชประชา และเข้าร่วมแข่ง สิงคโปร์คัพ และได้ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ได้อันดับสอง รองจาก สโมสรฟุตบอลทัมปิเนสโรเวอร์ ในวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549

ยุคปัจจุบัน

ในปี 2550 สโมสรฟุตบอลชลบุรี ภายใต้การนำของหัวหน้าผู้ฝึกสอน จเด็จ มีลาภ สามารถคว้าตำแหน่งชนะเลิศ ในการแข่งขันฟุตบอลไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2550 เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสโมสร และได้สิทธิเป็นตัวแทนจากประเทศไทยเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลรายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก

ปี 2551 สโมสรฟุตบอลชลบุรีสามารถคว้าแชมป์ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ก ประจำปี 2550 มาได้ แต่ไม่สามารถป้องกันแชมป์ฟุตบอลไทยแลนด์พรีเมียร์ลีกไว้ได้ ทำได้เพียงตำแหน่งรองชนะเลิศ ส่วนทีมชนะเลิศได้แก่สโมสรฟุตบอลการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (ปัจจุบันคือสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด) ทำให้ต้องไปเล่นในรายการเอเอฟซีคัพซึ่งเป็นถ้วยรองในระดับทวีปเอเชียแทน

ปี 2552 สโมสรฟุตบอลชลบุรี มีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งหัวหน้าผู้ฝึกสอน โดยได้เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง จากจุฬายูไนเต็ด มาคุมทีมแทนจเด็จ มีลาภ ที่ย้ายไปคุมทีมพัทยายูไนเต็ด ในปีนี้สามารถคว้าแชมป์ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ก. ประจำปี 2551 มาครองได้อีกครั้ง แต่ในฟุตบอลไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก ก็ยังไม่ประสบความสำเร็จ โดยทำได้เพียงตำแหน่งรองชนะเลิศอีกครั้งหนึ่ง ส่วนทีมชนะเลิสได้แก่สโมสรฟุตบอลเมืองทอง-หนองจอกยูไนเต็ด

ในปี 2553 สโมสรฟุตบอลชลบุรีได้ จเด็จ มีลาภ กลับมาคุมทีมอีกครั้ง พร้อมกับย้ายสนามเหย้าจากสนามสิรินธร โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา มาที่สนามสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชลบุรี ในฤดูกาลนี้ สโมสรฟุตบอลชลบุรีทำได้เพียงอันดับที่ 3 ในการแข่งขันไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก แต่ก็ยังสามารถคว้ารางวัลชนะเลิศฟุตบอลถ้วยในรายการมูลนิธิไทยคมเอฟเอคัพมาครองได้ เป็นครั้งแรก ทำให้ได้รับสิทธิเป็นตัวแทนจากประเทศไทยเข้ามร่วมแข่งขันฟุตบอลรายการเอเอฟซีคัพ ประจำปี 2554

ในปี 2554 สโมสรฟุตบอลชลบุรีย้ายสนามเหย้าจากสนามสถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตขลบุรี มาใช้สนามชลบุรีสเตเดียม โดยได้ วิทยา เลาหกุล ลงมารับตำแหน่งผู้จัดการทีมเต็มตัว ทำงานร่วมกับ จเด็จ มีลาภ ซึ่งในปีเดียวกันนี้สโมสรสามารถคว้าแชมป์ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ก. ประจำปี 2553 มาครองไว้ได้ ซึ่งถือเป็นสมัยที่สามในประวัติศาสตร์สโมสร และจบอันดับด้วยตำแหน่งรองชนะเลิศไทยพรีเมียร์ลีกเป็นสมัยที่ 3 แต่ได้สิทธิเข้าไปเล่นรอบคัดเลือกในรายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกอีกครั้ง เพราะบุรีรัมย์ยูไนเต็ดได้ตำแหน่งชนะเลิศไทยพรีเมียร์ลีกและชนะเลิศเอฟเอคัพทั้งสองรายการ ทำให้สิทธิตัวแทนประเทศไทยอีกทีมจึงตกเป็นของชลบุรี

ปี 2555 สโมสรฟุตบอลชลบุรีเปลี่ยนผู้สนับสนุนอุปกรณ์กีฬาจากเอฟบีทีเป็นไนกี้[4][5] และเริ่มเปิดฤดูกาลด้วยการป้องกันตำแหน่งชนะเลิศรายการฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน ก. ไว้ได้อีกสมัย โดยการเฉือนเอาชนะจุดโทษสโมสรบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ไป 6 ประตูต่อ 5 ภายหลังเสมอในเวลา 90 นาที 2 ประตูต่อ 2 ส่วนในรายการไทยพรีเมียร์ลีกนั้น ชลบุรีทำได้เพียงตำแหน่งรองชนะเลิศ เป็นสมัยที่ 4

ประวัติเพิ่มเติมของสโมสร

แผนการจดทะเบียนเป็นบริษัทนิติบุคคล

เดือนเมษายน พ.ศ. 2551 สโมสรฟุตบอลชลบุรีเตรียมจดทะเบียนสโมสรให้อยู่ในรูปของบริษัทนิติบุคคล โดยใช้ชื่อ บริษัท สโมสรฟุตบอลชลบุรี จำกัด พร้อมกับจดลิขสิทธิ์ฉายา ฉลามชล และโลโก้ปลาฉลามของสโมสรด้วย ซึ่งบริษัทจะทำหน้าที่อย่างเต็มตัวในการแข่งขันไทยแลนด์พรีเมียร์ลีกฤดูกาลปี พ.ศ. 2552 เพื่อความสะดวกในการวางงบประมาณทำทีมและแผนงานต่าง ๆ ทั้งนี้ อรรณพ สิงห์โตทอง ผู้ช่วยผู้จัดการทีม ประมาณการว่าจะใช้เงินทุนในการจัดตั้งไม่ต่ำกว่า 5 ล้านบาท โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 7 คน ส่วนอุปสรรคที่จะได้พบหลังจากการจดทะเบียน คือ สโมสรรวมถึงนักฟุตบอลทุกคนจะต้องเสียภาษีรวมแล้วประมาณร้อยละ 7 ซึ่งอาจจะไม่เพียงพอกับงบประมาณการทำทีมที่ได้รับทุกปี โดยในประเด็นนี้ อรรณพกล่าวว่าจะต้องดำเนินการอย่างรอบคอบเพื่อให้มีงบประมาณเพิ่มขึ้นพอที่จะใช้จ่ายในทุกด้าน[6]

เข้าร่วมแข่งขันในระดับทวีปครั้งแรก

ทีมชลบุรีได้สิทธิร่วมแข่งขันในเอเอพซีแชมเปียนส์ลีกในฐานะผู้ชนะเลิศไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก 2550 โดยภายหลังจากจับฉลากแบ่งสาย ชลบุรีได้อยู่ในสาย G แข่งขันกับ เมลเบิร์น วิกตอรี (ออสเตรเลีย) กัมบะ โอซะกะ (ญี่ปุ่น) และ ชุนนัม ดรากอนส์ (เกาหลีใต้) โดยทีมชลบุรีได้ใช้ สนามศุภชลาศัย เป็นสนามเหย้าแทน สนามเทศบาลเมืองชลบุรี ซึ่งไม่ผ่านการตรวจมาตรฐานของ เอเอฟซีซึ่งทีมชลบุรี โชว์ฟอร์มใน 2 นัดแรกได้อย่างยอดเยี่ยม เมื่อนัดแรกสามารถบุกไปเสมอกัมบะ โอซะกะได้ถึงถิ่น แบบชนิดที่เรียกว่าโดนเจ้าถิ่นตีเสมอในช่วงทดเวลาบาดเจ็บอย่างน่าเสียดาย และต่อมาในนัดที่สอง สามารถเปิดบ้านไล่ถล่ม เมลเบิร์น วิคตอรี่ ยอดทีมจากออสเตรเลีย ไปได้แบบขาดลอย 3 ประตูต่อ 1 แต่ทว่า ใน 4 นัดที่เหลือ ชลบุรีสามารถเก็บเพิ่มได้อีกแค่แต้มเดียว ในนัดที่เปิดรังเสมอกับ ชุนนัม ดรากอนส์ จากเกาหลีใต้ ทำให้ในท้ายที่สุดแล้ว ชลบุรีจึงได้อันดับบ๊วยของกลุ่ม ชวดเข้าไปเล่นในรอบต่อไปในที่สุด อย่างไรก็ดี ถือว่าเป็นผลงานที่น่าประทับใจสำหรับชลบุรี สำหรับในการแข่งขันระดับทวีปครั้งแรก

เอเอฟซีคัพ 2554

ทีมชลบุรีได้สิทธิร่วมแข่งขันในรายการเอเอฟซีคัพหลังทำได้เพียงตำแหน่งรองชนะเลิศไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก 2551 ซึ่งรายการนี้เป็นรายการที่รองมาจากเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก โดยภายหลังจากจับฉลากแบ่งสายรอบแรก ชลบุรีได้อยู่ในสาย G โซนตะวันออก โดยอยู่ร่วมสายเดียวกับทีม ฮานอย เอซีบี (เวียดนาม) อีสเทิร์น แอธเลติก (ฮ่องกง) และ เคดาห์ (มาเลเซีย) [7]

ด้วยผลงานอันยอดเยี่ยมชลบุรีเข้ารอบ 16 ทีมสุดท้ายในฐานะแชมป์ของกลุ่ม G ไปเจอกับทีม พีเอสเอ็มเอส เมดาน จากประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งชลบุรีเอาชนะไปได้ด้วยสกอร์ 4 ประตูต่อ 0[8] ผ่านเข้ารอบ 8 ทีมสุดท้ายได้สำเร็จ พบกับบินห์เยือง สโมสรจากเวียดนาม แต่ก็ต้องพบกับความผิดหวังเมื่อทีม ตกรอบ 8 ทีมสุดท้าย

ในปี พ.ศ. 2554 ทีมชลบุรีได้สิทธิเข้าร่วมการแข่งขันรายการเอฟเอคัพอีกครั้งในฐานะแชมป์เอฟเอคัพ ผลการจับสลากแบ่งสายชลบุรีได้อยู่สาย H ร่วมสายกับ สโมรเปอซิปุระชัยปุระ จากซูเปอร์ลีกอินโดนีเซีย สโมสรเซาต์ไชน่า จากประเทศฮ่องกง และสโมสรคิงฟิชเชอร์อีสต์เบงกอล จากประเทศอินเดีย ผลการแข่งขันในรอบแบ่งกลุ่มปรากฏว่าชลบุรีสามารถคว้าอันดับที่หนึ่งของกลุ่ม H ด้วยผลงาน ชนะ 4 เสมอ 1 และแพ้ 1 มี 13 คะแนน ได้สิทธิเข้ารอบ 16 ทีมสุดท้ายและได้สิทธิเล่นเป็นเจ้าบ้านพบกับสโมสรฟุตบอลศรีวิจาย่า จากประเทศอินโดนีเซีย[9] และสามารถเอาชนะเข้าสู่รอบ 8 ทีมสุดท้ายได้ โดยเข้าไปพบกับทีมนาซาฟจากอุซเบกิสถาน โดยชลบุรีเป็นฝ่ายแพ้การดวลจุดโทษนาซาฟหลังประตูรวมสองนัดเท่ากัน 1 ประตู ต่อ 1 ตกรอบไปในที่สุด

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2555

ภายหลังจากเอเอฟซีปรับจำนวนทีมจากประเทศไทยให้สามารถเข้าร่วมแข่งขันในรายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกรอบแบ่งกลุ่ม 1 ทีม และรอบคัดเลือกอีก 1 ทีม ทำให้ชลบุรีได้สิทธิเข้าไปเล่นในรอบคัดเลือกเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกโซนตะวันออกอีกครั้ง ด้วยสาเหตุที่ว่าทีมบุรีรัมย์ยูไนเต็ดคว้าตำแหน่งชนะเลิศทั้งรายการไทยพรีเมียร์ลีกและรายการเอฟเอคัพทั้งสองรายการ ทำให้ชลบุรีซึ่งได้ตำแหน่งรองชนะเลิศไทยพรีเมียร์ลีกใด้สิทธิตัวแทนของประเทศไทยอีกหนึ่งทีม โดยจะเข้าไปพบกับโปฮัง สตีลเลอร์ส จากเกาหลีใต้ ก่อนที่จะเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มต่อไป แต่ก็แพ้ไปด้วย สกอร์ 2-0 จึงตกมาเล่นในรายการรองอย่างเอเอฟซีคัพ 2012

เอเอฟซีคัพ 2555

หลังจากที่ตกรอบ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก จากการบุกไปแพ้ โปฮัง สตีลเลอร์ส ของเกาหลีใต้ไป 2-0 ชลบุรีได้สิทธ์ไปเล่นใน เอเอฟซีคัพ ซึ่งเป็นถ้วยรองของเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก โดยชลบุรีได้อยู่ใน กลุ่ม G กับย่างกุ้ง ยูไนเต็ด จาก พม่า โฮม ยูไนเต็ด จาก สิงคโปร์ และ ซิตี้เซนต์ แอธแลนติก จาก ฮ่องกง ซึ่งชลบุรี ได้แชมป์ของกลุ่ม G และ โฮม ยูไนเต็ด เป็นรองแชมป์

โดยชลบุรีและโฮม ยูไนเต็ดได้มีสิทธ์ไปเล่นในรอบ 16 ทีมสุดท้ายได้ โดยในรอบ 16 ทีมสุดท้าย ชลบุรีได้เจอกับ อัล ซาวร่า รองแชมป์ กลุ่ม E จาก อิรัก โดยได้ทำการแข่งขันในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2555เวลา 19.00 (ตามท้องถิ่น) ที่ ชลบุรีสเตเดียม จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย ผลปรากฏว่า ชลบุรี ชนะ อัล ซาวร่าไปได้ 1-0 จากประตูของ พิภพ อ่อนโม้ ในนาทีที่ 8 จึงเลยผ่านเข้ารอบไปสู่รอบ 8 ทีมสุดท้าย[10]

ชลบุรีได้ไปเจอกับ สโมสรกีฬาอัลชอร์ตา จาก ซีเรีย โดยรอบแรกเล่นที่ ชลบุรีสเตเดียม ผลปรากฏว่า ชลบุรีแพ้ไป 2-1 ทั้งที่นำไปก่อนตั้งแต่นาทีที่ 3 จาก ตีอาโก คุนญา[11] และรอบสองได้ไปเล่นที่สนาม ปรินทส์ โมฮัมเหม็ด สเตเดียม ที่ ประเทศจอร์แดน เนื่องจากสนามเหย้าของอัลชอร์ต้าซึ่งอยู่ใน ประเทศซีเรีย ในเมือง ดามัสกัสได้มีเหตุการณ์ทางการเมืองเกิดขึ้น ทางเอเอฟซีเลยได้ปรับให้มาเล่นที่สนามของ ประเทศจอร์แดนแทน ซึ่งผลปรากฏว่าครบ 90 นาที ชลบุรีนำอยู่ 2-1 แต่รวมสกอร์แล้วยังเสมออยู่ 3-3 เลยต้องต่อเวลาพิเศษไป แล้วผลปรากฏว่าชลบุรีได้ 2 ประตู จาก ติอาโก คุนญา ในช่วงต่อเวลาพิเศษ พอครบ 120 นาที ชลบุรีจึงบุกไปชนะได้ 4-2 แล้วรวมสกอร์จากรอบแรก ชลบุรีชนะไป 5-4 ซึ่งเป็นประวัติศาสตร์ครั้งแรกของวงการฟุตบอลไทย ที่สโมสรฟุตบอลในไทยได้ผ่านรอบแปดทีมสุดท้ายเข้าไปแข่งในรายการ เอเอฟซีคัพ ได้ โดยรอบก่อนรอบรองชนะเลิศ ชลบุรีจะได้พบทีม สโมสรฟุตบอลอาร์บิล จาก อิรัก[12]

ผู้เล่น

ผู้เล่นทีมหลัก

ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน 2555[13] หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

No.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
2 ธงชาติของไทย DF สุรีย์ สุขะ
3 ธงชาติของไทย MF ณัฐพงษ์ สมณะ
4 ธงชาติของไทย DF เกียรติประวุฒิ สายแวว
6 ธงชาติของไทย DF สุทธินันท์ พุกหอม
7 ธงชาติของไทย MF อาทิตย์ สุนทรพิธ
8 ธงชาติของไทย MF เทิดศักดิ์ ใจมั่น (รองกัปตันทีม)
10 ธงชาติของไทย FW พิภพ อ่อนโม้ Captain sports.svg
11 ธงชาติของไทย DF อนุชา กิจพงษ์ศรี
13 ธงชาติของไทย FW อนุวัฒน์ นาคเกษม
14 ธงชาติของไทย FW ไกรกิตติ อินอุเทน
15 ธงชาติของโกตดิวัวร์ DF โฟเด บองกาลี ไดกีเต
18 ธงชาติของไทย GK สินทวีชัย หทัยรัตนกุล
19 ธงชาติของไทย MF อดุลย์ หละโสะ
20 ธงชาติของไนจีเรีย FW ซามูเอล เบงกา อาจายี
 
No.   ตำแหน่ง ผู้เล่น
21 ธงชาติของไทย MF สุกรี อีแต
22 ธงชาติของญี่ปุ่น MF คะซุโตะ คุชิดะ
23 ธงชาติของไทย DF อภิรัตน์ หีมขาว
24 ธงชาติของไทย FW เกริกฤทธิ์ ทวีกาญจน์
25 ธงชาติของไทย DF ชลทิตย์ จันทคาม
26 ธงชาติของบราซิล DF แอนเดอร์สัน ดอส ซานโตส
28 ธงชาติของไทย GK หัสชัย แสนกล้า
29 ธงชาติของไทย DF เจษฎากร เหมแดง
31 ธงชาติของไทย FW นูรูล ศรียานเก็ม
33 ธงชาติของไทย FW อัครวินท์ สวัสดี
34 ธงชาติของไทย FW นพนนท์ คชพลายุกต์
35 ธงชาติของไทย DF พุทธินันท์ วรรณศรี
37 ธงชาติของบราซิล FW ติอาโก คุนญา
38 ธงชาติของไทย DF อนุสรณ์ สุจริต

หมายเหตุ: หมายเลขเสื้อ หมายเลข 12 ได้ยกเลิกเพื่อใช้เป็นตัวแทนของแฟนคลับชลบุรี เอฟซี (ผู้เล่นคนที่ 12)

[แก้]อดีตผู้เล่นคนสำคัญ

[แก้]สัญลักษณ์สโมสร

สัญลักษณ์สโมสรเก่า พ.ศ. 2546 – 2547

สัญลักษณ์สโมสรเก่า พ.ศ. 2547 – 2555

ในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ณ สนามชลบุรีสเตเดียม สโมสรฟุตบอลชลบุรีได้จัดพิธีเปิดตัวสัญลักษณ์สโมสรใหม่ ทดแทนสัญลักษณ์แบบเดิมที่ใช้งานมายาวนานนับสิบปี ทั้งนี้นายวิทยา คุณปลื้ม ประธานสโมสร ได้กล่าวถึงสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ว่าต้องการปรับปรุงภาพลักษณ์ของสโมสรให้มีความเป็นมืออาชีพพร้อมเข้าสู่การแข่งขันในระดับนานาชาติ จึงต้องมีการพัฒนาสัญลักษณ์สโมสรให้มีความเป็นสากลและมีเอกลักษณ์ของตัวเอง[14]

เจ้าหน้าที่สโมสร

บริษัท ชลบุรี เอฟ.ซี. จำกัด
ฝ่ายบริหาร
ฝ่ายเจ้าหน้าที่ทีมและเทคนิค

[แก้]ผู้จัดการทีมที่ผ่านมา

ปี ชื่อ หมายเหตุ
2547-2549 ธงชาติของไทย วิทยา เลาหกุล ชนะเลิศ โปรลีก 2548
2550-2551 ธงชาติของไทย จเด็จ มีลาภ ชนะเลิศ ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก 2550 ,ชนะเลิศ ถ้วย ก. ครั้งที่ 73 และ 74
2552 ธงชาติของไทย เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง รองชนะเลิศ ไทยพรีเมียร์ลีก 2552
2553-2554 ธงชาติของไทย จเด็จ มีลาภ ชนะเลิศ เอฟเอคัพ ,ชนะเลิศ ถ้วย ก. ครั้งที่ 76
2554-ปัจจุบัน ธงชาติของไทย วิทยา เลาหกุล รองชนะเลิศ ไทยพรีเมียร์ลีก 2554,ไทยพรีเมียร์ลีก 2555 ,ชนะเลิศ ถ้วย ก. ครั้งที่ 77

[แก้]ผลงาน

ลีก

ถ้วย

[แก้]ผลงานแบ่งตามฤดูกาล

ฤดูกาล ลีก เอฟเอคัพ ลีกคัพ ควีนสคัพ ถ้วยพระราชทาน ก เอเชีย ผู้ทำประตูสูงสุดในลีก
ระดับ เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย แต้ม ตำแหน่ง ชื่อ ประตู
2548 โปรลีก ? ? ? ? ? ? ? 1st              
2549 ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก 22 5 12 5 29 28 27 8th           พิภพ อ่อนโม้ 7
2550 ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก 30 19 6 5 50 25 63 1st           พิภพ อ่อนโม้ 16
2551 ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก 30 15 14 1 34 14 59 2nd       ชนะเลิศ แชมเปียนลีกส์-แบ่งกลุ่ม พิภพ อ่อนโม้ 5
2552 ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก 30 18 8 4 50 30 62 2nd รอบ 16 ทีม   รองชนะเลิศ ชนะเลิศ เอเอฟซีคัพ-ก่อนรองชนะเลิศ โคเน่ โมฮัมเหม็ด 14
2553 ไทยพรีเมียร์ลีก 30 17 9 4 57 28 60 3rd ชนะเลิศ รอบ 2 รองชนะเลิศ     พิภพ อ่อนโม้ 10
2554 ไทยพรีเมียร์ลีก 34 20 9 5 58 29 69 2nd รอบ 5 รองชนะเลิศ   ชนะเลิศ เอเอฟซีคัพ – ก่อนรองชนะเลิศ พิภพ อ่อนโม้ 15
2555 ไทยพรีเมียร์ลีก 34 21 7 6 65 33 70 2nd รอบ 3 ก่อนรองชนะเลิศ   ชนะเลิศ เอเอฟซีคัพ – รองชนะเลิศ พิภพ อ่อนโม้ 14
2556 ไทยพรีเมียร์ลีก                              
ชนะเลิศ รองชนะเลิศ เลื่อนชั้น ตกชั้น

[แก้]สโมสรพันธมิตร

อ้างอิง

  1. ^ “เกี่ยวกับสโมสร”chonburifootballclub.com. สโมสรฟุตบอลชลบุรีเอฟซี.http://www.chonburifootballclub.com/th/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A3/. เรียกข้อมูลเมื่อ 10 มีนาคม 2555.
  2. ^ “เกี่ยวกับสโมสร”chonburifootballclub.com. สโมสรฟุตบอลชลบุรีเอฟซี.http://www.chonburifootballclub.com/th/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A3/. เรียกข้อมูลเมื่อ 10 มีนาคม 2555.
  3. ^ ประวัติทีม : ชลบุรี เอฟซี
  4. ^ ไนกี้จัดหนักควัก 45 ล้าน หนุนชลบุรี 3 ปี จากหนังสือพิมพ์สยามกีฬา ฉบับวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2555
  5. ^ ชลบุรี เอฟซี’ จับมือ ‘ไนกี้” เปิดตัวชุดแข่งใหม่สุดอลังการ จากหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2555
  6. ^ ชลบุรีพร้อมจดทะเบียน-แจงข่าวร้ายปล่อยฟาเบียโน่http://www.siamsport.co.th (เรียกข้อมูล 18 เม.ย. 2551.)
  7. ^ Intriguing battles in AFC Cup 2009 จาก http://www.the-afc.com สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2552
  8. ^ Chonburi 4-0 PSMS Medan จาก http://www.the-afc.com สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2552
  9. ^ AFC Cup – Schedule-Results จาก http://www.the-afc.com สืบค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2554
  10. ^ “พิภพฮีโร่ ชลบุรีเฉือนอัลซาวร่า 1-0 ลิ่วแปดทีมเอเอฟซีคัพ
  11. ^ “ฉลามชลเซ็ง อัลชอร์ต้าบุกเฉือน 2-1 ลุ้นรอบสองเอเอฟซีคัพ
  12. ^ “คุนญ่าแฮตทริกฉลามชลบุกดับอัลชอร์ต้า 4-2 หลังต่อเวลา ลิ่วตัดเชือก
  13. ^ “ผู้เล่นของทีม สโมสรฟุตบอลชลบุรีเอฟซี”. http://www.thaipremierleague.co.th.http://www.thaipremierleague.co.th/playerslist.php?clubID=2. เรียกข้อมูลเมื่อ 17 มีนาคม 2555.
  14. ^ ชลบุรี เอฟซี เผยโฉมโลโก้ใหม่ ‘ฉลามดุ’ chonburifootballclub.com. สโมสรฟุตบอลชลบุรีเอฟซี.
  15. ^ ตารางสรุปคะแนนไทยแลนด์ พรีเมียร์ลีก 2007 สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย
  16. http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%9F%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%8A%E0%B8%A5%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B5